Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPatcharee Ritprajak-
dc.contributor.authorTeerawut Nedumpun-
dc.contributor.authorSanipa Suradhat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2022-12-06T09:02:38Z-
dc.date.available2022-12-06T09:02:38Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81366-
dc.description.abstractThe derivation of dendritic cells (Des) in vitro is an alternative system to overcome the low frequency of primary DCs and the difficulty of isolation techniques for study of DC immunobiology. To date, conventional culture protocol of porcine monocyte-derived DCs (MoDCs) has been widely used. However, this protocol is sometimes not practical due to the requirement of substantial monocyte number from the blood sample, and the process often interferes with DC maturation. To improve the protocol for porcine MoDC generation, we altered the previous conventional protocol, based on the human MoDC and mouse bone-marrow derived DC (8M-DC) culture system, and compared phenotypic and functional features of MoDC derived from the modified protocol to the conventional protocol. The modified protocol consumed less amount of monocytes but generated higher CD1 + cells with DC-like morphology and ability of maturation. In addition, MoDCs from the modified protocol exhibited increased antigen uptake capability and cytokine gene expression in response to LPS stimulation. Our findings indicate that the modified protocol is expedient and reliable for generating potent MoDCs that substitute for primary DCs. This will be a valuable platform for future research in antigen delivery, vaccine and immunotherapy in pigs, as well as relevant veterinary species.en_US
dc.description.abstractalternativeการพัฒนาเดนไดรติกเซลล์ในห้องปฏิบัติการเพื่อใช้ศึกษาเดนไดรติกเซลล์เชิงภูมิคุ้มกันชีววิทยาเป็นระบบทางเลือกที่ใช้ก้าวข้ามปัญหาเรื่องเดนไดรติกเซลล์ปฐมภูมิที่มีจำนวนน้อยและความยากของเทคนิคในการแยกเซลล์ ปัจจุบันวิธีการเพาะเลี้ยงเดนไดรติกเซลล์จากโมโนซัยต์ของสุกรแบบดั้งเดิมนั้นนิยมใช้อย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม วิธีการเพาะเลี้ยงนี้บางครั้งไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้เนื่องจากจำเป็นต้องใช้โมโนซัยต์ในปริมาณมากจากตัวอย่างเลือด และกระบวนการดังกล่าวมักรบกวนการเจริญเต็มที่ของเดนไดรติกเซลล์เพื่อปรับปรุงวิธีการสร้างไดรติกเซลล์จากโมโนซัยต์ของสุกร ผู้วิจัยได้ปรับเปลี่ยนวิธีการเพาะเลี้ยงแบบดั้งเดิมโดยยึดระบบการเพาะเลี้ยงไดรติกเซลล์จากโมโนซัยต์ของมนุษย์ และการเพาะเลี้ยงไดรติกเซลล์จากเซลล์ไขกระดูกของหนูเมาส์เป็นแนวทาง จากนั้นทำการเปรียบเทียบฟีโนไทป์ และการทำงานของไดรติกเซลล์ที่สร้างจากโมโนซัยต์ของสุกรด้วยวิธีดัดแปรกับวิธีดั้งเดิม พบว่าวิธีดัดแปรใช้ปริมาณโมโนซัยต์น้อยกว่าแต่สามารถสร้างเซลล์ที่มีการแสดงออกของ CD1 ได้จำนวนมาก โดยเซลล์เหล่านี้มีลักษณะคล้ายเดนไดรติกเซลล์และมีความสามารถในการเจริญเต็มที่ นอกจากนี้ไดรติกเซลล์ที่สร้างจากโมโนซัยต์ของสุกรด้วยวิธีดัดแปรสามารถจับกินแอนติเจนได้มากขึ้น และมีการแสดงออกของไซโตไคน์ยีนที่สูงขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยไลโปโพลีแซคคาไรด์ จากผลการทดลองแสดงว่าวิธีดัดแปรนั้นสะดวกและเชื่อถือได้สำหรับการสร้างไดรติกเซลล์จากโมโนซัยต์ของสุกรที่มีศักยภาพเพื่อทดแทนเดนไดรติกเซลล์ปฐมภูมิ งานวิจัยนี้เป็นแนวทางที่มีคุณประโยชน์สำหรับการวิจัยในอนาคตทางด้านการนำส่งแอนติเจน วัคซีน และการรักษาเชิงวิทยาภูมิคุ้มกันในสุกร และสัตว์ชนิดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทางสัตวแพทยศาสตร์en_US
dc.description.sponsorshipRatchadaphiseksomphot Endowment Fund (R/F-2559_010_02_32)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherFaculty of Dentistry, Chulalongkorn Universityen_US
dc.rightsFaculty of Dentistry, Chulalongkorn Universityen_US
dc.subjectDendritic cellsen_US
dc.subjectMonocytesen_US
dc.subjectเซลล์ใยประสาทนำเข้าen_US
dc.subjectโมโนไซต์en_US
dc.titleGeneration of in vitro porcine monocyte-derived dendritic cells (MoDcs) by new modified protocolen_US
dc.title.alternativeการสร้างเดนไดรติกเซลล์ในห้องปฏิบัติการจากโมโนซัยต์ของสุกรโดยวิธีดัดแปรแบบใหม่en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Dent - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharee R_Res_2559.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.