Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChutima Trairatvorakul-
dc.contributor.authorYart-ruetai Kosakul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2023-08-04T06:01:19Z-
dc.date.available2023-08-04T06:01:19Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82421-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016-
dc.description.abstractObjective: This study aims to investigate an adaptation of acid production of S. mutans to long-term exposure to human breast milk (HBM). Materials and Methods: S. mutans UA 159 were grown in pooled HBM from 11 mothers. To create the adaptation condition, S. mutans were sub-cultured up to the 15th passage (11 hours/passage) in HBM, BHI supplemented HBM (HBM+BHI) and BHI control. The bacterial cells were collected at the baseline (the 0 passage), the 1st, 5th, 9th, 13th and 15th passage to immediately determine the acid production and growth in HBM and 7% sucrose supplemented BHI (BHI+Sucrose). The pH and the number of bacteria were measured every hour for 6 hours and after 12 hours of incubation. The acid production rate was calculated at the fastest pH-dropping duration. Results: The acid production in HBM and in BHI+Sucrose of S. mutans was changed after exposure to all three media for 11 hours (the 1 passage). The acid production in HBM of HBM and HBM+BHI grown cells reached the critical pH of enamel after 2-3 hours which was faster than the baseline HBM (4 hours). The acid production rate in HBM and in BHI+Sucrose of all tested group was not significant difference. Moreover, the longer period of exposure was performed; there was not obvious discrepancy of acid production among the 1st through the 15th passage. Conclusion: After exposure to HBM, S. mutans increase its ability to utilize HBM leading to the shorter time to reach critical pH than its usual condition.-
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์ การศึกษานี้มีขึ้นเพื่อศึกษาการปรับตัวในการผลิตกรดของเชื้อสเตรปโตคอคคัส มิวแทนส์ ภายหลังจากการเพาะเลี้ยงในนมแม่เป็นระยะเป็นเวลานาน วิธีวิจัย เชื้อสเตรปโตคอคคัส มิวแทนส์ ถูกเพาะเลี้ยงในนมแม่จากมารดาจำนวน 11 ราย เพื่อสร้างสภาวะในการปรับตัว เชื้อจะถูกเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 15 รอบ (11 ชั่วโมงต่อ 1 รอบ) ในนมแม่ นมแม่ผสมอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอ และ อาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอ(กลุ่มควบคุม) เก็บเชื้อรอบที่ 0 1 5 9 13 และ 15 จากนั้นนำเชื้อมาวัดการผลิตกรดและการเจริญเติบโตทันทีในนมแม่และในอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอผสมน้ำตาลซูโครสร้อยละ 7 ทำการวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง และจำนวนเชื้อ ทุกๆ 1 ชั่วโมงเป็นระยะเวลา 6 ชั่วโมง และที่ 12 ชั่วโมง และคำนวณอัตราการผลิตกรดในช่วงที่มีการลดลงของค่าความเป็นกรด-ด่างมากที่สุด ผลการทดลอง การผลิตกรดในนมแม่ และในอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอผสมน้ำตาลซูโครสร้อยละ 7 ของเชื้อสเตรปโตคอคคัส มิวแทนส์ มีการเปลี่ยนแปลงไปภายหลังเชื้อถูกเลี้ยงในอาหารทั้ง 3 ชนิด เป็นระยะเวลา 11 ชั่วโมง (1 รอบ) การผลิตกรดในนมแม่จากเชื้อที่ถูกเลี้ยงในนมแม่และในนมแม่ผสมอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอ สามารถทำให้ค่าความเป็นกรด-ด่างลดลงต่ำกว่าค่าความเป็นกรด-ด่างวิกฤตของเคลือบฟันภายใน 2-3 ชั่วโมง ซึ่งเร็วกว่าการผลิตกรดในนมแม่จากเชื้อรอบที่ 0 ที่ใช้เวลา 4 ชั่วโมง อัตราการผลิตกรดในนมแม่และในอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอผสมน้ำตาลซูโครสร้อยละ 7  ไม่มีความแตกต่างกันในทุกกลุ่มการทดลอง นอกจากนี้การเพาะเลี้ยงเป็นระยะเวลานานขึ้น ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงการผลิตกรดในรอบที่ 1 ถึงรอบที่ 15 สรุปผลการศึกษา ภายหลังการเพาะเลี้ยงในนมแม่ เชื้อสเตรปโตคอคคัส มิวแทนส์ สามารถใช้นมแม่ได้ดีขึ้น นำไปสู่เวลาที่สั้นกว่าสภาวะปกติในการไปถึงค่ากรด-ด่างวิกฤต-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1745-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.titleAcid production rate of streptococcus mutans after adaptation in human breast milk-
dc.title.alternativeอัตราการผลิตกรดของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส มิวแทนส์ภายหลังจากการปรับตัวในนมแม่-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplinePediatric Dentistry-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1745-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5775830032.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.