Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82858
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNumpon Insin-
dc.contributor.authorPadtaraporn Chanhom-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Sciences-
dc.date.accessioned2023-08-04T07:08:37Z-
dc.date.available2023-08-04T07:08:37Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82858-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2018-
dc.description.abstractNew nanomaterials of the magnetic visible light active photocatalysts, tetra(4-carboxyphenyl)porphyrin (TCPP) with different metals [Mn(II), Fe(III), Cu(II), Zn(II) and metal-free] in the center adsorbed on titania-silica-iron oxide superparamagnetic composites (TSI) were synthesized successfully. The photocatalytic activities in methylene blue (MB) degradation were determined under incandescent lamp for 3 h. Their characteristics have been identified using UV-visible spectroscopy, X-ray diffractometry (XRD), transmission electron microscopy (TEM), Fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR), and X-ray photoelectron spectroscopy (XPS). The photodegradation results revealed that the metalloporphyrin sensitization helped TSI to absorb the light in visible region. Titania-silica-iron oxide nanomaterials with copper(II) tetra(4-carboxyphenyl)porphyrin (CuTCPP) can significantly eliminate methylene blue (MB) and Escherichia coli (E. coli) upon 3 h of irradiation. The four-cycled reuse without regeneration of the CuTCPP-TSI results supported the great reusability with the ease in magnetic separation due to high magnetic response of the nanocomposites. The photodegradation activity is not only dependent on the type of metal in metalloporphyrin, but many factors including content of the loaded porphyrin also influence the activity. The suitable condition for CuTCPP-TSI nanocomposite preparation is 0.01 mmol of CuTCPP per 50 mg of TSI using stirring at 60 οC for 12 h. Consequently, the visible light activated photocatalysts were favorably synthesized and able to apply in photooxidative reaction in various applications.-
dc.description.abstractalternativeการสังเคราะห์นาโนคอมพอสิตของไททาเนีย-ซิลิกา-เหล็กออกไซด์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีสมบัติการตอบสนองแม่เหล็กซึ่งสามารถถูกกระตุ้นด้วยแสงในช่วงที่ตามองเห็นได้ด้วยการเพิ่มโมเลกุลเมทัลโลพอร์ไฟรินบนพื้นผิวของคอมพอสิต โดยทำการศึกษาความแตกต่างของชนิดโลหะที่อยู่ในเมทัลโลพอร์ไฟรินต่อผลของการสลายสีย้อมเมทิลลีนบลูภายใต้การฉายแสงจากหลอดไส้เป็นเวลาสามชั่วโมง คอมพอสิตที่สังเคราะห์ได้ถูกพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคอัลตราไวโอเลต-วิสิเบิล สเปคโทรโฟโตเมตรี, เอกซเรย์ดิฟแฟรกโทรเมตรี, ฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี, และเอกซเรย์โฟโตอิเลกตรอนสเปกโทรสโกปี จากผลการย่อยสลายเมทิลบลู พบว่าการมีเมทัลโลพอร์ไฟรินบนพิ้นผิวของคอมพอสิต สามารถช่วยให้คอมพอสิตของไททาเนีย-ซิลิกา-เหล็กออกไซด์ดูดกลืนแสงในช่วงที่ตามองเห็นได้ คอมพอสิตของไททาเนีย-ซิลิกา-เหล็กออกไซด์กับเมทัลโลพอร์ไฟรินที่มีทองแดงอยู่ในโครงสร้าง สามารถกำจัดสีย้อมเมทิลลีนบลูและแบคทีเรีย Escherichia coli  ได้ ภายใต้การฉายแสงสามชั่วโมง คอมพอสิตดังกล่าวสามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้สี่ครั้ง โดยไม่ผ่านกระบวนการฟื้นฟูพื้นผิวใด ๆ แสดงให้เห็นว่าคอมพอสิตที่สังเคราะห์ได้นั้นมีประสิทธิภาพในการนำกลับมาใช้ซ้ำได้ดีด้วยการแยกโดยอาศัยแรงแม่เหล็กจากภายนอกมาเหนี่ยวนำ ประสิทธิภาพในการสลายสีย้อมไม่เพียงขึ้นกับชนิดของโลหะในเมทัลโลพอร์ไฟริน แต่ยังขึ้นกับปริมาณพอร์ไฟรินที่ติดอยู่บนพิ้นผิวของคอมพอสิตด้วย การให้ความร้อนที่ 60 องศาเซลเซียสพร้อมกับการปั่นกวน โดยใช้ 0.01 มิลลิโมลของ Copper(II) tetra(4-carboxyphenyl)porphyrin (CuTCPP) ต่อ 50 มิลลิกรัมของคอมพอสิตของไททาเนีย-ซิลิกา-เหล็กออกไซด์ คืออัตราส่วนเหมาะสมในการเตรียมคอมพอสิตให้มีประสิทธิภาพสูง  คอมพอสิตที่ได้นี้มีประสิทธิภาพในการใช้เป็นตัวเร่งเชิงแสงได้ในงานที่หลากหลายต่อไป-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.107-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.titleMetalloporphyrin-sensitized titania/silica/iron oxide nanocomposites and their photocatalytic activities-
dc.title.alternativeนาโนคอมพอสิตของไททาเนีย/ซิลิกา/เหล็กออกไซด์ที่มีเมทัลโลพอร์ไฟรินไวแสงและกัมมันตภาพการเร่งปฏิริยาด้วยแสง-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameDoctor of Philosophy-
dc.degree.levelDoctoral Degree-
dc.degree.disciplineChemistry-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.107-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5772882023.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.