Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83074
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ | - |
dc.contributor.author | นันทพงศ์ ตันตระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T07:35:57Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T07:35:57Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83074 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 | - |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันการหาปริมาณดินที่ใช้ในการถมที่ดินว่างเปล่ามีค่าใช้จ่ายสูงต้องมีทีมสำรวจอย่างน้อย 4 คนผู้แต่งจึงต้องการนำสมาร์ตโฟนแบบสองความถี่ที่จะสามารถหาตำแหน่งด้วยวิธีการหาตำแหน่งแบบจลน์ในทันทีด้วยวิธีตําแหน่งอ้างอิงเสมือนมาช่วยในการหาปริมาณดินโดยทำการทดสอบบนพื้นที่ขนาด 11,145 ตารางเมตรโดยจะนำไปเปรียบเทียบกับวิธีดั้งเดิมที่ใช้กล้องสำรวจโดยทำการลงพื้นที่สำรวจปักหมุดทดสอบ 21 หมุดแล้วนำสมาร์ตโฟนพร้อมอุปกรณ์ล๊อคตำแหน่งและค่าระดับไปรังวัดด้วยวิธีการหาตำแหน่งแบบจลน์ในทันทีด้วยวิธีตําแหน่งอ้างอิงเสมือนโดยเชื่อมต่อกับข้อมูลสถานีค่าอ้างอิงพิกัดแบบต่อเนื่องของกรมที่ดินในจุดทดสอบโดยรังวัดในเวลากลางคืนเก็บข้อมูลทุก 1 วินาทีเป็นเวลา 1 ชั่วโมง 21 หมุดแล้วนำข้อมูลมาประมวลผลร่วมกับข้อมูลค่าแก้นาฬิกาดาวเทียม, วงโคจรดาวเทียม, ค่าแก้ชั้นบรรยากาศและค่าแก้เสาอากาศแล้วนำค่าพิกัดที่ได้ไปคำนวณปริมาณดินที่ใช้ในการถมโดยผลลัพธ์จากสมาร์ตโฟนแบบสองความถี่ได้ความถูกต้องที่ดีที่สุดทางราบ 4 cm ทางดิ่ง 8 cm โดยใช้เวลาในการลู่เข้ามากสุด 40 นาทีซึ่งเมื่อนำไปคำนวณปริมาณดินเปรียบเทียบกับวิธีเดิม ในทางสถิติจะมีปริมาณดินต่างกันไม่เกิน +-10% ทำให้สามารถสรุปได้ว่าการใช้สมาร์ตโฟนแบบสองความถี่สามารถนำมาใช้ในงานคำนวณปริมาณงานดินแทนวิธีการใช้กล้องสำรวจได้และมีค่าใช้จ่ายในการทำงานน้อยกว่าวิธีเดิมกว่า 5 เท่า | - |
dc.description.abstractalternative | At present, earthwork on vacant land is costly, requiring a survey team of at least four people, so the author wants to use a dual-frequency smartphone that can be positioned using the VRS RTK positioning method to help with earthwork by surveying an area of 11,145 square meters. It is compared with the traditional method of using a survey camera. The survey was conducted on 21 pins, and then a smartphone with location and level locks was measured using the RTK VRS positioning method, connected to the Land Department's CORs station data at the test point. At night, the data is collected every 1 second for 1 hour and 21 pins and then processed together with satellite clock, satellite orbit, atmospheric correction, and antenna correction data. Then take the coordinates to determine the amount of soil used. The results from the dual-frequency smartphone achieved optimal accuracy of 4 cm horizontal and 8 cm vertical, with a maximum convergence time of 40 minutes. When calculating the amount of soil compared to the traditional method, the statistical difference in soil content does not exceed 10%. As a result, it can be concluded that the use of a dual-frequency smartphone can be used in earthwork instead of survey camera methods and costs more than five times less to work than the traditional method. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.877 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | การประเมินประสิทธิภาพของการใช้สมาร์ทโฟนที่มีจีเอ็นเอสเอสแบบสองความถี่ในการคำนวณงานดินด้วยวิธีการรังวัดหาตำแหน่งแบบจลน์ในทันที | - |
dc.title.alternative | Performance evaluation of dual-frequency GNSS smartphone used for earthwork calculation in real-time kinematic positioning | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสำรวจ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2022.877 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6270381021.pdf | 13.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.