Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกษิดิศ หนูทอง-
dc.contributor.advisorสรวิศ เผ่าทองศุข-
dc.contributor.authorพัทธ์ศริยา พงษ์ลำเจียกงาม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-08-04T07:37:21Z-
dc.date.available2023-08-04T07:37:21Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83142-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractการศึกษานี้ประเมินความเป็นไปได้ของการนำจุลสาหร่าย Dunaliella tertiolecta จากคลังเก็บสายพันธุ์ของห้องปฏิบัติการมาศึกษาการผลิตลูทีนภายใต้สภาวะความเค็ม, ปริมาณและแหล่งไนโตรเจน, ความเข้มแสงและความยาวคลื่นแสง และรูปแบบการให้อากาศที่แตกต่างกัน  ดำเนินการทดลองเพาะเลี้ยงจุลสาหร่ายในขวดแก้วดูแรนขนาด 2 ลิตร (เส้นผ่านศูนย์กลาง 136 มิลลิเมตร x ความสูง 248 มิลลิเมตร) เป็นเวลา 8 วัน โดยปรับความความเค็มของอาหารเลี้ยงในช่วง 30 – 150 พีพีที ปริมาณไนโตรเจนในช่วง 3.1-18.6 มิลลิกรัม-ไนโตรเจน/ลิตร ในแหล่งไนโตรเจน NaNO3, Ca(NO3)2, Urea และ (NH4)2SO4 ที่ความเข้มแสง 67-402 ไมโครโมลโฟตอน/ตารางเมตร×วินาทีด้วยแสงสีแดง สีน้ำเงิน และแสงสีขาว โดยมีรูปแบบการให้อากาศเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2.5% โดยปริมาตรและอากาศปกติที่ความเข้มข้นไนโตรเจน 150%-1,000% ผลการศึกษาพบว่าจุลสาหร่ายสามารถเจริญเติบโตได้ในการเพาะเลี้ยงที่ความเค็ม 30 พีพีที ที่แหล่งไนโตรเจน Ca(NO3)2 ความเข้มข้น 1,000% ไนโตรเจน เพาะเลี้ยงด้วยหลอดไฟแอลอีดีสีขาวภายใต้ความเข้มแสง 402 ไมโครโมลโฟตอน/ตารางเมตร×วินาที ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2.5% โดยปริมาตรที่อัตราการไหล 1.6 ลิตร/นาที โดยจุลสาหร่ายเจริญเติบโตได้สูงสุดที่ 549.91 ± 41.49 x 104 เซลล์/มิลลิลิตร ได้รับน้ำหนักแห้งสูงสุดเท่ากับ 1,397.3 ± 84.03 มิลลิกรัม/ลิตร และสามารถผลิตลูทีนได้เท่ากับ 3.25 ± 0.23 มิลลิกรัม/ลิตร หรือ 2.49 ± 0.08 มิลลิกรัม/กรัม ภายใต้สภาวะดังกล่าวจุลสาหร่าย Dunaliella tertiolecta สามารถผลิตโปรตีนได้ 46.44% โดยน้ำหนักแห้ง ซึ่งคิดเป็น 464.38 มิลลิกรัม/กรัม-
dc.description.abstractalternativeThis study evaluated the feasibility of introducing Dunaliella tertiolecta stored in the laboratory’s culture collection to produce lutein. Microalgae were cultured in a 2-L Duran bottle (diameter 136 mm. x height 248 mm.) for 8 days under conditions of salinity, nitrogen content and source, light intensity and wavelength, and different air supply patterns. The salinity of the medium was adjusted in the range of 30 – 150 ppt. Nitrogen content in the range of 3.1-18.6 mg-nitrogen/l. Nitrogen source are NaNO3, Ca(NO3)2, Urea and (NH4)2SO4 at light intensity of 67-402 µmol photons/m²×s with red, blue and white light. The airing pattern was 2.5% v/v carbon dioxide and normal air at 150%-1,000% nitrogen concentration. The results show that microalgae can be grown in culture at 30 ppt salinity by Ca(NO3)2 as nitrogen source at 1,000% nitrogen concentration, using white light at 402 µmol photons/m²×s with 2.5% v/v carbon dioxide aeration at a flow rate of 1.6 liters/min give the maximum microalgae growth at 435.18 ± 57.47 x 104 cells/ml, obtained maximum dry weight of 1,397.3 ± 84.03  mg/l and produce lutein with 3.25 ± 0.23 mg/l or 2.49 ± 0.08 mg/g. Under these conditions, the microalgae Dunaliella tertiolecta was able to produce 46.44% protein by dry weight, which was 464.38 mg/g.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.805-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตและการผลิตลูทีนในจุลสาหร่าย Dunaliella tertiolecta-
dc.title.alternativeFactors affecting growth and lutein production in microalga Dunaliella tertiolecta-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.805-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6470053321.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.