Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์มณี รัตนวิชา-
dc.contributor.authorสวรรยา สิทธิประเสริฐผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2023-08-04T08:24:42Z-
dc.date.available2023-08-04T08:24:42Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83362-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractแบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมและถูกใช้งานในหลายวงการ เช่น งานวิจัยการสำรวจความพึงพอใจของลูกค้า การสำรวจความต้องการของตลาด การสำรวจความคิดเห็นของพนักงาน หรือ ใช้ในงานวิจัยเชิงวิชาการ เป็นต้น เนื่องจากยังไม่เคยมีการทำวิจัยเกี่ยวกับแบบสอบถามออนไลน์ที่มีคำถามเป็นรูปแบบเสียงในบริบทของประเทศไทยมาก่อน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ คุณภาพข้อมูล (Data quality) ซึ่งประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ (1) ความตั้งใจของผู้ตอบแบบสอบถาม (Attention) (2) ความเชื่อถือได้ (Reliability) และความพึงพอใจในรูปแบบของแบบสอบถาม (Satisfaction) ที่ได้จาก (1) แบบสอบถามออนไลน์รูปแบบปกติ (Conventional online questionnaire) และ (2) แบบสอบถามออนไลน์ที่ใช้คำถามรูปแบบเสียง (Online questionnaire using audio question) เมื่อเจเนอเรชัน (Generation) ของผู้ตอบแบบสอบถามต่างกัน จากการทดลองสรุปได้ว่า แบบสอบถามออนไลน์ที่ใช้คำถามรูปแบบเสียง ไม่มีผลต่อ คุณภาพข้อมูล และความพึงพอใจในรูปแบบของแบบสอบถาม เมื่อเจเนอเรชันของผู้ตอบแบบสอบถามแตกต่างกัน และไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์เพิ่มเติม พบว่าแบบสอบถามออนไลน์ที่ใช้คำถามรูปแบบเสียงมีร้อยละของจำนวนผู้กรอกข้อเสนอแนะมากกว่าแบบสอบถามออนไลน์รูปแบบปกติ สำหรับกลุ่มตัวอย่างทุกเจอเนอเรชัน-
dc.description.abstractalternativeAn online questionnaire is a popular tool used in many fields such as customer satisfaction survey research, market survey, employee opinion survey, and academic research. Because there has never been researched on online questionnaires using audio questions in Thailand, the researcher is therefore interested in this topic. The researcher aims to study, analyze and compare data quality, which consists of 2 factors (1) the attention of respondents (2) the reliability, and satisfaction of the questionnaire's type obtained from (1) conventional online questionnaire and (2) online questionnaire using audio questions to examine the outcome from respondents from different in generations. According to the experiment, the results show no effect of audio questions in an online questionnaire on data quality and satisfaction of questionnaire's type for all cases. However, further analysis on the opinions given by respondents provides insight that the percentage of respondents who fill out suggestion in the online questionnaire using audio questions is higher than those of the conventional online questionnaire for all cases.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.115-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationBusiness-
dc.subject.classificationEducation-
dc.titleผลของคำถามรูปแบบเสียงในแบบสอบถามออนไลน์ที่มีต่อคุณภาพข้อมูลและความพึงพอใจของผู้ใช้-
dc.title.alternativeEffects of audio question in online questionnaire on data quality and user satisfaction-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2022.115-
Appears in Collections:Acctn - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6382184126.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.