Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84060
Title: | Effect of cannabis sativa byproduct supplementation during transition period on maternal behavior, feed intake, colostrum yield and piglet survival rate in hyperprolific sows |
Other Titles: | ผลของการเสริมกากกัญชาในช่วงก่อนและหลังคลอดต่อ พฤติกรรมของแม่ ปริมาณอาหารที่กินได้ ปริมาณน้ำนมเหลือง และ อัตราการรอดชีวิตของลูก ในแม่สุกรสายพันธุ์ลูกดก |
Authors: | Rafa Boonprakob |
Advisors: | Padet Tummaruk Sornkanok Vimolmangkang |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
Issue Date: | 2023 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In the modern swine industry, addressing inflammation and pain in sows after farrowing is a crucial animal welfare concern. Cannabis sativa, a medicinal plant, possesses properties that serve as an analgesic, anti-inflammatory, and antipyretic, while also being abundant in fiber. The objective of this study is to examine the impact of supplementing sows with Cannabis sativa byproducts during transition periods on various aspects including postpartum behavior, feed intake, constipation, farrowing duration, colostrum yield, and piglet performance. The experiment involved a total of 100 Landrace × Yorkshire sows. The sows were distributed according to parity numbers into 2 groups, i.e., control (n = 54) and treatment (n = 46). The control group was provided with a lactation diet 3.0-3.5 kg per day for a period of seven days before and after farrowing. The treatment groups received the same quantity of the diet but with an additional supplementation of 150 g/d of Cannabis sativa byproduct. The byproduct was analyzed and found to contain 0.24% (w/w) concentration of cannabidiol (CBD), resulting in a daily intake of 360 mg of CBD per sow. The conventional lactational diet had a dietary fiber content of 4.3%, whereas the diet supplemented with Cannabis sativa byproduct had a higher content of 16.9% dietary fiber. Video cameras were employed to observe and document the behavior of sows within the initial 24 h after farrowing. The duration in which sows engaged in activities such as sleeping, sitting, standing, feeding, and nursing their piglets was quantified. Additionally, the rectal temperature of the sows was measured, and a temperature equal to or exceeding 39.5 °C was considered indicative of fever. The fecal score of the sows was assessed and a fecal score of ≤2 was classified as constipation. On the third day postpartum, the proportion of sows with fever in the treatment group was lower than that in the control group (20.0% and 38.9% respectively, P=0.051). Sows receiving supplementation with Cannabis sativa byproducts exhibited increased durations of standing and feeding compared to the control group (P |
Other Abstract: | อุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในปัจจุบันกระบวนการอักเสบและปวดในแม่สุกรหลังคลอดมีความสำคัญอย่างมากต่อสวัสดิภาพสัตว์กัญชามีชื่อทางวิทยาศาสตร์ Cannabis sativa เป็นพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการลดปวดลดอักเสบและลดไข้และเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยเยื่อใยวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาผลที่ได้จากเสริมกากกัญชา(Cannabis sativa byproducts) ในแม่สุกรก่อนคลอดและหลังคลอด 7-10 วัน (transition period) ต่อพฤติกรรมการแสดงออกของแม่สุกรหลังคลอดปริมาณอาหารที่กินได้ภาวะท้องผูก ระยะเวลาการคลอดปริมาณน้ำนมเหลืองและประสิทธิภาพทางการผลิตในลูกสุกรการทดลองครั้งนี้ทำในแม่สุกรจำนวน 100 แม่สายพันธ์ผสมแลนด์เรซ x ยอร์คเชียร์แม่สุกรถูกจัดแบ่งตามลำดับท้องเป็น 2 กลุ่มได้แก่กลุ่มควบคุม54 แม่และกลุ่มทดลอง 46 แม่กลุ่มควบคุมได้รับอาหาร 3.0-3.5 กิโลกรัม/ตัว/วัน ในช่วง 7 วันก่อนและหลังคลอดในขณะที่กลุ่มทดลองได้รับอาหารเช่นเดียวกับกลุ่มควบคุมแต่เสริมกากกัญชาจำนวน 150 กรัม/ตัว/วันโดยมีความเข้มข้นของสารออกฤทธิ์แคนนาบินอยด์(CBD) หลังผ่านการวิเคราะห์อยู่ที่ 0.24 % (w/w) ดังนั้นแม่สุกรได้รับ CBD จำนวน 360 มิลลิกรัม/ตัว/วันอาหารแม่เลี้ยงลูกเดิมของฟาร์มมีเยื่อใย 4.3% ในขณะที่อาหารทดลองเสริมกากกัญชา จะมีสัดส่วนเยื่อใย 16.9 % กล้องวงจรปิดถูกติดตั้งบนฝ้าเพดานของโรงเรือน เพื่อสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการแสดงออกของสุกรภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด ระยะเวลาในการแสดงออกของแต่ละพฤติกรรมของแม่สุกรได้ถูกบันทึกอย่างละเอียดได้แก่ การนอน การนั่ง การยืน การกินอาหาร และการเลี้ยงลูก นอกจากนี้ในแม่สุกรที่มีอุณหภูมิทางทวาร ≥39.5 องศาเซลเซียสจะถูกพิจารณาว่ามีไข้คะแนนมูลสุกรในแม่ที่ ≤2 จะถูกพิจาณาว่าเป็นแม่ท้องผูกในวันที่สามหลังคลอด แม่สุกรกลุ่มทดลองมีสัดส่วนของแม่สุกรที่เป็นไข้น้อยกว่ากลุ่มควบคุม (20% และ 38.9% ตามลำดับ P=0.051) ในขณะที่แม่สุกรกลุ่มที่ได้รับกากกัญชา จะมีระยะเวลาในการยืนและการเข้ากินอาหารที่มากกว่ากลุ่มควบคุม (P0.05) สรุปได้ว่าการเสริมกากกัญชาในช่วงเปลี่ยนผ่านก่อนและหลังคลอด 7-10 วัน ในภูมิอากาศร้อนชื้นส่งผลดีในเรื่องลดปัญหาแม่สุกรท้องผูกเพิ่มพฤติกรรมที่ดีในการผลผลิต เช่น ระยะเวลาในการยืน และกินอาหารของแม่ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมงหลังคลอด |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2023 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Theriogenology |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84060 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Vet - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6470012231.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.