Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูศักดิ์ จันทร์ปฐมพงศ์-
dc.contributor.authorกรวรรณ ประเสริฐศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2024-02-05T09:56:41Z-
dc.date.available2024-02-05T09:56:41Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84164-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566-
dc.description.abstractแนวคิดการสร้างสถานที่อย่างสร้างสรรค์ คือ การเชื่อมโยงระหว่างผู้คนและพื้นที่ ด้วยการนำงานศิลปะเข้ามาผสมผสานกับพื้นที่สาธารณะ โดยงานบางกอกอาร์ตเบียนนาเล่ 2022 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม 2565 - 23 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นการจัดงานแสดงศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ ซึ่งจัดแสดงในพื้นที่สาธารณะที่สำคัญของกรุงเทพฯ อย่างเช่น วัด ซึ่งเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่ในบริบทไทยดั้งเดิม วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบคุณภาพพื้นที่ตั้ง โดยเน้นไปที่ด้านกายภาพ และทำความเข้าใจพฤติกรรมของผู้คนในช่วงมีงาน และ ไม่มีงานศิลปะ วิธีวิจัย คือ กรณีศีกษาแบบแบบพหุกรณี ของพื้นที่ติดตั้งงานศิลปะประติมากรรมแบบชั่วคราว โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูล การสังเกตการณ์อย่างเป็นระบบ และการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ แล้วประเมินตามคุณลักษณะของแนวคิดการสร้างสถานที่ จากผลการศึกษา พบว่า การมีงานศิลปะไม่ได้ส่งผลต่อจำนวนผู้คน แต่ส่งผลต่อความหลากหลายและลักษณะของกิจกรรม ปัจจัยทางกายภาพที่ทำให้พฤติกรรมระหว่างผู้คนและงานศิลปะแตกต่างกัน เช่น การมองเห็น และการปิดล้อมเชิงพื้นที่ ดังนั้น การเลือกพื้นที่เพื่อติดตั้งงานศิลปะมีสิ่งที่ควรคำนึงถึง คือ ตำแหน่งติดตั้งงาน ขนาดพื้นที่ใช้งานเป็นขนาดสัดส่วนมนุษย์ การใช้งานอื่นโดยรอบ และขนาดที่พอเหมาะของพื้นที่ปิดล้อมต่อจำนวนผู้ใช้งาน ซึ่งจะเป็นสิ่งกำหนดความเข้มข้นของกิจกรรม-
dc.description.abstractalternativeCreative placemaking is a concept aimed at fostering connections between people and spaces by integrating art and culture in public spaces. Bangkok Art Biennale 2022, between 22 October 2022 - 23 February 2023, was an international contemporary art exhibition showcased in Bangkok's important public spaces, which are relatively new in the traditional Thai context. The objective of this study was to conduct a comparative physical quality analysis of locations and to comprehend people's behavior in the presence and absence of the artwork. The methodology was a multiple-case study research exhibiting areas of temporary sculpture by systematic data collection, observation, casual interviews, and then evaluated by attributes of the placemaking concept. The results found that the presence of art did not affect the number of people but the variety and nature of activities. Physical factors cause different behaviors between people and the artwork, such as visual access and spatial enclosure. Therefore, selecting an exhibit location should consider the mounting location, ability to facilitate public activities, and be proportional to the human scale, other surrounding activities, and the appropriate size of enclosed space per number of people that determine the intensity of the activities.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.subject.classificationOther service activities-
dc.titleการใช้ประติมากรรมในการสร้างสถานที่อย่างสร้างสรรค์และการส่งเสริมกิจกรรมสาธารณะของผู้คนในพื้นที่สาธารณะ : กรณีศึกษางานบางกอกอาร์ตเบียนนาเล่ 2022-
dc.title.alternativeSculpture for creative placemaking and public engagement activities in public space : case study of Bangkok art Biennale 2022-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:FACULTY OF ARCHITECTURE - THESIS

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6570001925.pdf15.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.