Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา รู้กิจการพานิช-
dc.contributor.authorกรบงกช วรนาถสุรงค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2024-02-05T10:12:21Z-
dc.date.available2024-02-05T10:12:21Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84289-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้โดโลไมต์จากดินตะกอนเหมืองหินมาเป็นสารตัวเติมผสมกับมูลไก่สำหรับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด โดยหาสัดส่วนที่ให้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์กรมวิชาการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ดินตะกอนเหมืองหิน และสามารถลดต้นทุนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดได้ โดยงานวิจัยนี้ ใช้ดินตะกอนเหมืองหินกรณีศึกษาในจังหวัดชุมพรที่มีคุณสมบัติเทียบเท่าโดโลไมต์ นำมาผสมมูลไก่สำหรับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดทั้งหมด 7 สัดส่วน ได้แก่ 0:100 (T0), 10:90 (T1), 20:80 (T2), 30:70 (T3), 40:60 (T4), 50:50 (T5) และ 60:40 (T6) และวางแผนการปลูกทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) กับผักสลัด 2 ชนิด คือ กรีนโอ๊ค และกรีนคอส โดยใช้ดินของจังหวัดปทุมธานี เพื่อทำการเปรียบเทียบกับสัดส่วนที่ควบคุม (T0) จำนวน 3 ซ้ำ ผลการศึกษาพบว่า สัดส่วนที่ T0 – T4 มีคุณสมบัติทางเคมีทั้งหมดผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์กรมวิชาการเกษตร คุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของดินหลังปลูกดีขึ้นโดยเฉพาะสัดส่วนที่ T3 และ T4 สัดส่วนโดโลไมต์ที่มากขึ้นส่งผลให้ดินมีความโปร่งพรุนมากขึ้น ผลการเจริญเติบโตและผลผลิตในสัดส่วนที่ T0 – T4 นั้นไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งกรีนโอ๊คและกรีนคอส แต่สัดส่วนที่ T4 ให้ผลผลิตน้อยสุด เพราะสัดส่วนของมูลไก่ที่เป็นแหล่งธาตุอาหารพืชหลักของผักสลัดน้อยลง ดังนั้นสัดส่วนโดโลไมต์จากดินตะกอนเหมืองหินกรณีศึกษาแห่งนี้ที่ใช้เป็นสารตัวเติมผสมกับมูลไก่สำหรับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ที่ดีที่สุด คือ สัดส่วนของโดโลไมต์ต่อมูลไก่ที่ 30 : 70 (T3) ซึ่งสามารถลดต้นทุนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดได้ถึง 24.41%-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to apply dolomite from quarry sediment as a filler with chicken manure to produce organic fertilizer pellets. By finding the proportion that quality could meet the DOA standards, it is possible to value-added with quarry sediment and reduce the cost of producing organic fertilizer pellets. This research used the quarry sediment from Chumphon which has properties similar to dolomite. It was mixed chicken manure to produce organic fertilizer pellets in the ratio 0:100 (T0), 10:90 (T1), 20:80 (T2), 30:70 (T3), 40:60 (T4), 50:50 (T5) และ 60:40 (T6). And three replications were used in the research's experimental completely randomized design (CRD). The findings demonstrated that the organic fertilizer pellets met the Department of Agriculture's organic fertilizers requirement in the ratios of T0 – T4. The chemical and physical characteristics of the soil texture after planting improved at the ratio of T3 and T4. It shown that a higher dolomite content resulted in a loamy and permeable soil texture. There were no statistically significant variations in the efficiency of growth and yield at the interval of T0 to T4, however the ratio of T4 has the lowest yield because nitrogen is insufficient for Green Oak and Green Cos.Therefore, the suitable ratio should be 30:70 (T3) which the cost of manufacture was reduced 24.41%.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishing-
dc.subject.classificationCrop and livestock production-
dc.titleการประยุกต์ใช้โดโลไมต์จากดินตะกอนเหมืองหินปูนสำหรับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด-
dc.title.alternativeUtilization of dolomite from sediment in quarrying process for pellet organic fertilizer production-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6070901621.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.