Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฏฐภรณ์ หลาวทอง-
dc.contributor.authorพงษ์ลิขิต เพชรผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-14T07:45:53Z-
dc.date.available2008-11-14T07:45:53Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741432992-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8454-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของวิธีการจัดกลุ่มที่มีขนาดและความสามารถของสมาชิกกลุ่มต่างกัน ที่มีต่อคุณภาพของงานกลุ่มของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2547 โรงเรียนกัลยาณวัตร จังหวัดขอนแก่น จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่มสำหรับนักเรียน แบบประเมินผลงานกลุ่มวิชาสังคมศึกษาสำหรับครูและผู้วิจัยแบบประเมินผลงานกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับครูและผู้วิจัย แบบประเมินผลงานกลุ่มวิชาสังคมศึกษาสำหรับนักเรียนแบบประเมินผลงานกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาสังคมศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยในครั้งนี้ใช้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรพหุนาม (Multivariate Analysis of Variance) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง (Two-way Analysis of Variance) ผลการวิจัยพบว่า วิชาสังคมศึกษา ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างขนาดของกลุ่มและความสามารถของสมาชิกกลุ่มของวิชาสังคมศึกษาต่อคุณภาพของงานกลุ่มของนักเรียน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 แต่วิชาวิทยาศาสตร์พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างขนาดของกลุ่มและความสามารถของสมาชิกกลุ่มของวิชาวิทยาศาสตร์ต่อคุณภาพของงานกลุ่มของนักเรียนที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ทั้งวิชาสังคมศึกษาและวิชาวิทยาศาสตร์มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างขนาดของกลุ่มและความสามารถของสมาชิกกลุ่มต่อคะแนนกระบวนการทำงานกลุ่มของนักเรียน และคะแนนผลงาน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 พัฒนาการด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและวิชาวิทยาศาตร์ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างขนาดของกลุ่มและความสามารถของสมาชิกกลุ่ม ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of different group sizes and the member abilities on the quality of group tasks of lower secondary school students. The sample were 36 ninth grade students who studied in the second term of academic year 2004 of Kallayanawat School, Khon Kaen Province. The research instruments were: 1) the evaluation form of groups' working process for students 2) the evaluation form in social study subject for teachers and researcher 3) the group evaluation form for students studying social study 4) the group evaluation form for students studying science 5) the social study exam for the ninth grade students 6) the science exam for the ninth grade students. Multivariate analysis of variance and two-way analysis of variance were used to analyze the collected data. The results of this research were : There was a significant effect for the quality of group tasks in science but not for those in social study with a significant interaction effect between group sizes and member abilities (p < 0.05). In social study and science, there were significant effects for process and product of group tasks with a significant interaction effect between group sizes and member abilities (p < 0.05). In social study and science, there were not a significant effect for gain score with a significant interaction effect between group sizes and member abilities (p < 0.05)en
dc.format.extent1468218 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาen
dc.subjectการเรียนรู้เป็นทีมen
dc.titleผลของการจัดกลุ่มที่มีขนาดและความสามารถของสมาชิกต่างกันที่มีต่อคุณภาพของงานกลุ่มของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeEffects of different group sizes and member abilities on the quality of group tasks of lower secondary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorLawthong_n@hotmail.com-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ponglikit.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.