Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84586
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐนันท์ คุณมาศ-
dc.contributor.authorพิมพ์วิภา ชาโรจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2024-02-05T11:09:39Z-
dc.date.available2024-02-05T11:09:39Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84586-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาบทบาทของสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ในกระบวนการสร้างบรรทัดฐานเรื่องผู้ลี้ภัยทางสภาพภูมิอากาศ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000-2022 เพื่อวิเคราะห์บทบาทของ UNHCR กับการดำเนินงานเรื่องผู้ลี้ภัยทางสภาพภูมิอากาศ และประเมินบทบาทของ UNHCR ในกระบวนการสร้างบรรทัดฐาน โดยผู้วิจัยจะใช้กรอบแนวคิดกระบวนการสร้างบรรทัดฐานประกอบการวิเคราะห์           จากการศึกษาพบว่า UNHRC เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีบทบาทหลักในฐานะผู้เผยแพร่บรรทัดฐานเรื่องผู้ลี้ภัยจากสภาพภูมิอากาศ โดยเผยแพร่ประเด็นการคุ้มครองผู้ลี้ภัยจากสภาพภูมิอากาศเข้าสู่วาระทางการเมืองในประชาคมโลก และเป็นผู้นำกลุ่มด้านสิทธิมนุษยชน ในการสร้างกลไกการประชุมเพื่อปรึกษาหารือแนวทางแก้ไขปัญหา และแสวงหากลไกและเครื่องมือในการคุ้มครองต่อกลุ่มผู้ลี้ภัยจากสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวส่งผลให้เกิดบรรทัดฐานในการคุ้มครองผู้ลี้ภัยจากสภาพภูมิอากาศที่ประชาคมโลกให้การยอมรับและเกิดเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศร่วมกัน โดยเมื่อวิเคราะห์ขั้นตอนการสร้างบรรทัดฐาน ถือได้ว่า UNHCR ในฐานะผู้เผยแพร่บรรทัดฐานนั้นมีบทบาทในการผลักดันและเผยแพร่ประเด็นเรื่องผู้ลี้ภัยจากสภาพภูมิอากาศจนเป็นที่ยอมรับในเวทีระหว่างประเทศจนสามารถทำให้เกิดกลไกการปรึกษาหารือเพื่อแก้ไข แสวงหาแนวทางในการรับมือต่อปัญหาดังกล่าวได้สำเร็จ-
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study the role of the United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR) in the formation of climate refugees norms between 2000-2022 in order to analyze the role of UNHCR in climate refugee action and evaluate the role of UNHCR in norm-making process with the conceptual framework to analyze the norm formalization.        According to the study, UNHRC is an international organization that plays a key role as an entrepreneurship of climate refugee norms by raising the issue of protecting climate refugees to the political agenda of the international community, and a leader in human rights groups to create a forum to discuss solutions and to seek concrete mechanisms to protect climate refugees. This has resulted in a norm for the protection of refugees from climate change that has been accepted by the international community and has resulted in a common international agreement. When analyzing the role of UNHCR with the norm formalization conceptual framework, it can be concluded that UNHCR, as a norm entrepreneur, plays a role in framing and raising the issue of climate refugees until it is accepted in the international community and can create a consultation mechanism to cope with such problems successfully.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.subject.classificationEducation-
dc.titleบทบาทของสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติในกระบวนการสร้างบรรทัดฐานเรื่องผู้ลี้ภัยทางสภาพภูมิอากาศ ตั้งแต่ปี ค.ศ.2000-2022-
dc.title.alternativeThe role of the UNHCR in formalization of climate refugees norms between 2000 and 2022-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:FACULTY OF POLITICAL SCIENCE - INDEPENDENT STUDY

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6480097424.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.