Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัษฎาพร ทรัพย์สมบูรณ์-
dc.contributor.authorแพรวกมล ฤกษ์พินธุวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2024-02-05T11:12:32Z-
dc.date.available2024-02-05T11:12:32Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84634-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566-
dc.description.abstractในปัจจุบันคนส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะสุนัขและแมว ส่งผลให้ธุรกิจการรับฝากสัตว์เลี้ยงเป็นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น แต่เนื่องด้วยปัจจัยด้านความสะดวก ค่าใช้จ่าย ทำให้เจ้าของสัตว์เลี้ยงบางกลุ่มเลือกฝากสัตว์เลี้ยงของตนไว้กับคนกลุ่มอื่น เช่น ญาติ พี่น้อง โดยคนกลุ่มนี้อาจเป็นบุคคลที่มีความพร้อมความสามารถในการดูแลสัตว์เลี้ยง และสามารถหารายได้เพิ่มจากการรับฝาก จากพฤติกรรมของคนที่ต้องการฝากสัตว์เลี้ยงและคนรับฝากสัตว์เลี้ยงทั้งสองกลุ่มจึงนำมาสู่โอกาสทางธุรกิจในรูปแบบการแบ่งปันทรัพยากร (ที่พักสัตว์เลี้ยง) ผ่านช่องทางโมไบล์แอปพลิเคชันของธุรกิจให้บริการรับฝากสัตว์เลี้ยง ในการพัฒนาโมไบล์แอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองความต้องการการดำเนินการรับฝากสัตว์เลี้ยง จำเป็นต้องนำหลักการคิดเชิงออกแบบมาช่วยในกระบวนการคิดและออกแบบให้สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้ใช้ ตั้งแต่การค้นหาผู้รับฝากและการยืนยันการรับฝาก โดยผู้ใช้งานทั้งสองกลุ่มจำเป็นต้องทราบรายละเอียดและข้อมูลการรีวิวเพื่อสามารถตัดสินใจฝากหรือรับฝากสัตว์เลี้ยงที่ต้องการได้ รวมถึงการติดตามสัตว์เลี้ยงในระหว่างการรับฝากเพื่อให้ผู้ฝากคลายความกังวลระหว่างการรับฝาก และการรายงานประวัติการรับฝากสัตว์เลี้ยงเพื่อให้ผู้รับฝากสามารถทราบผลการดำเนินการย้อนหลังได้ ระบบต้นแบบของโครงการการใช้การคิดเชิงออกแบบเพื่อพัฒนาโมไบล์แอปพลิเคชันของธุรกิจให้บริการรับฝากสัตว์เลี้ยงถูกสร้างจากเครื่องมือ Figma สามารถเป็นระบบต้นแบบโมไบล์แอปพลิเคชันของธุรกิจให้บริการรับฝากสัตว์เลี้ยงที่สามารถใช้งานได้จริง โดยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานทุกกลุ่มอย่างแท้จริง-
dc.description.abstractalternativeCurrently, there is a growing preference for pet ownership, particularly dogs and cats. This trend has led to an increased demand for pet boarding services, while some pet owners choose to entrust their pets to friends or relatives for care. This provides an opportunity to earn extra income. This alternative is frequently more cost-effective than traditional pet boarding services in the market. The behaviors of individuals seeking pet boarding services and those providing such services have led to a business opportunity in the form of resource-sharing, facilitated through mobile applications offered by pet boarding businesses. To develop a mobile application for pet boarding that truly meets the user’s needs, the design thinking principle is required in the ideation and design process. Pet owners and sitters, need access to details and reviews for informed boarding decisions. Additionally, tracking pets during boarding and reporting historical data allow boarders to retrospectively evaluate their services, alleviating concerns for pet owners. Finally, a prototype of the mobile application was developed using the Figma tool. This project functions as a practical prototype of a pet boarding application capable of genuinely meeting the needs of all user groups.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationComputer Science-
dc.subject.classificationOther service activities-
dc.titleการใช้การคิดเชิงออกแบบเพื่อพัฒนาโมไบล์แอปพลิเคชันของธุรกิจให้บริการรับฝากสัตว์เลี้ยง-
dc.title.alternativeUsing design thinking to develop mobile application pet boarding service business-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Acctn - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6482092126.pdf18.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.