Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชร ทรัพย์มี-
dc.contributor.advisorจีระพันธุ์ พูลพัฒน์-
dc.contributor.authorชุติมา พงศ์วรินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-06-09T10:04:55Z-
dc.date.available2009-06-09T10:04:55Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746372424-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8961-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงต่อการบริหารเวลา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมีสมมติฐานการวิจัย คือ (1) นักเรียนที่เข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงจะมีคะแนนการบริหารเวลา เพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง (2) นักเรียนที่เข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงจะมีคะแนนการบริหารเวลา สูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมทดสอบ ก่อนและหลังการทดลอง (Pretest-Posttest Control Group Design) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 14 คน ซึ่งสุ่มจากนักเรียนที่ได้คะแนนจากแบบวัดการบริหารเวลา ต่ำกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 25 แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 7 คน และกลุ่มควบคุม 7 คน กลุ่มทดลองได้เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง เป็นเวลา 5 สัปดาห์ติดต่อกัน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมง โดยผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลในการวิจัย คือ แบบวัดการบริหารเวลาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ของคะแนนการบริหารเวลาด้วยวิธีการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการทดลอง นักเรียนที่เข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงมีคะแนนการบริหารเวลา เพิ่มสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) หลังการทดลอง นักเรียนที่เข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงมีคะแนนการบริหารเวลาเพิ่มสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study the effects of group reality therapy on time management of Mathayom Suksa Four students. The hypotheses were that (1) the posttest scores on the Time Management Scale of the experimental group would be higher than its pretest scores. (2) the posttest scores on the Time Management Scale of the experimental group would be higher than the posttest scores on the Time Management Scale of the control group. The sample was 14 Mathayom Suksa Four students who scored below 25 percentile on the Time Management Scale, they were randomly assigned to be the experimental group and the control group, each group comprised of 7 students. The experimental group participated in a group reality therapy program conducted by the researcher, for 2 hours twice a week over a period of 5 consecutive weeks which made approximately 20 hours. The instrument used for data collection in this study was the Time Management Scale constructed by the researcher. The t-test was ultilized for data analysis. The results indicated that : (1) The posttest scores on the Time Management Scale of the experimental group was higher than its pretest scores at 0.05 level of significance. (2) The posttest scores on the Time Management Scale of the experimental group was higher than the posttest scores on the Time Management Scale of the control group at 0.05 level of significanceen
dc.format.extent776761 bytes-
dc.format.extent1213568 bytes-
dc.format.extent802295 bytes-
dc.format.extent739395 bytes-
dc.format.extent860052 bytes-
dc.format.extent724310 bytes-
dc.format.extent1095403 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen
dc.subjectการบริหารเวลาen
dc.subjectจิตบำบัดแบบเผชิญความจริงen
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง ต่อการบริหารเวลาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeEffects of group reality therapy on time management of mathayom suksa four studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorCheerapan.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutima_Ph_front.pdf758.56 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Ph_ch1.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Chutima_Ph_ch2.pdf783.49 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Ph_ch3.pdf722.07 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Ph_ch4.pdf839.89 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Ph_ch5.pdf707.33 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Ph_back.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.