Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8983
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ ชุติมา-
dc.contributor.authorสุรสิทธิ์ โสภณชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-10T09:29:27Z-
dc.date.available2009-06-10T09:29:27Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741302576-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8983-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาหาวิธีการจัดตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งจัดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับจัดตารางการผลิต ชิ้นส่วนแม่พิมพ์ในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในการทดลองเพื่อหาวิธีการจัดตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดตารางการผลิต คือให้ค่าเวลาล่าช้าของงานโดยเฉลี่ยต่ำที่สุด ได้นำทฤษฎีการจัดตารางการผลิตแบบตามสั่งมาประยุกต์ใช้ ด้วยวิธีการสร้างตารางการผลิตแบบนอนดีเลย์ร่วมกับวิธีการเชิงฮิวริสติก โดยนำเอากฎเกณฑ์ฮิวริสติก 5 วิธี ได้แก่ EDD SLACK SLACK/RO SMT SPT มาทดสอบกับข้อมูลการผลิตจริงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จัดทำขึ้น ในส่วนของโครงสร้างของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนข้อมูลนำเข้าของตารางการผลิต ส่วนประมวลผลตารางการผลิต และส่วนรายงาน ทั้งนี้โปรแกรมยังสามารถจัดตารางการผลิตแบบตอบโต้ และแสดงผลของโปรแกรมในรูปของแผนภูมิการทำงานของเครื่องจักร พร้อมค่าประสิทธิภาพของตารางการผลิต ตลอดจนสามารถจัดการกับความไม่แน่นอนประเภทเครื่องจักรเสีย และการเลื่อนเวลาส่งมอบงานได้ ผลการทดลองพบว่ากฎเกณฑ์ฮิวริสติกแบบ EDD ด้วยวิธีการสร้างตารางการผลิตแบบนอนดีเลย์ เป็นวิธีการจัดตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด โดยเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการจัดตารางการผลิตเดิม ได้ค่าเวลาล่าช้าของงานโดยเฉลี่ยลดลง 26% จำนวนงานล่าช้าลดลง 33% และค่าเวลาสายของงานโดยเฉลี่ยลดลง 55% โดยสรุปแล้วระบบนี้สามารถช่วยลดความต้องการทักษะ ในการจัดลำดับงานของหัวหน้าคนงาน ลดระยะเวลาในการวางแผนการผลิต และได้แผนตารางการผลิตที่มีความถูกต้องแม่นยำสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ในการจัดตารางการผลิตen
dc.description.abstractalternativeTo find efficient scheduling method and develop computer program for die production scheduling in automotive parts industry. In experiment to find efficient scheduling method that gives minimum mean job tardiness, which is scheduling objective. The job shop scheduling technique was applied using nondelay schedule generation and heuristic approach. Five heuristic rules : EDD, SLACK, SLACK/RO, SMT, SPT were tested with real production data by computer program which developed. The structure of computer program contains three parts, schedule input, schedule process and report. In addition, the program can also conduct such a complex feacture as interactive scheduling. The output of program can be displayed on Gannt Charts and show schedule performance. Besides, the program can manage uncertains such as machine breakdown and shift due date. The experiment results show that EDD heuristic rule with nondelay schedule generation is the best efficient scheduling method. When compared with old scheduling method, mean job tardiness value decreased by 26%, number of tardy job decreased by 33% and mean job lateness value decreased by 55%. In summary, the proposed system will reduce shop floor leader's skill requirement, planning time and provide an accurate die production schedule plan that complies with production scheduling objective.en
dc.format.extent56517322 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการกำหนดงานการผลิตen
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์en
dc.titleการจัดตารางการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์แบบใช้คอมพิวเตร์ช่วย สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์en
dc.title.alternativeComputer aided die production scheduling for automotive parts industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorcparames@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surasit.pdf55.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.