Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลิน นิลอุบล-
dc.contributor.advisorเพชรรัตน์ จันทรทิณ-
dc.contributor.authorศศิ มะลิพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-24T01:41:32Z-
dc.date.available2009-06-24T01:41:32Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9470300227-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9107-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractเชื้อรา Glomerella cingulata สาเหตุโรคใบจุดเปล้าน้อยสามารถสร้างสปอร์ได้มากที่สุดในวันที่ 7 หลังจากเลี้ยงเชื้อราบนอาหารสูตร Czapek's Agar นำสปอร์ที่ได้มาใช้ในการเลี้ยงเพื่อผลิตสารพิษสำหรับงานวิจัยนี้ จากการเปรียบเทียบปริมาณสารพิษที่เชื้อราดังกล่าวสร้างในอาหารเลี้ยงเชื้อ 2 ชนิด พบว่า เชื้อราที่เลี้ยงใน Czapek's Dox Medium ที่เติม 0.1 เปอร์เซ็นต์ yeast extract สามารถผลิตสาร Indoleacetic acid (IAA) ได้ 0.004 และ Phenylacetic acid (PAA) ได้ 1.58 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารเลี้ยงเชื้อรา ซึ่งมากกว่าอาหารชนิด Richard's Medium โดยเชื้อราสามารถผลิต IAA ได้ 0.003 และ PAA ได้ 0.046 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารเลี้ยงเชื้อรา จากการทดสอบความเป็นพิษของสารมาตรฐาน IAA และ PAA ต่อแคลลัสของเปล้าน้อยพบว่า ทั้งสาร IAA และ สาร PAA มีผลต่อการตายของแคลลัสเปล้าน้อย และสารทั้ง 2 ชนิด จะมีผลเสริมความเป็นพิษต่อเนื้อเยื่อเมื่อใช้ร่วมกัน ในการทดลองชักนำให้แคลลัสและยอดเปล้าน้อยต้านทานต่อสารสกัดจากเชื้อ Glomerella cingulata โดยการนำแคลลัสและยอดที่รอดตายจากการเลี้ยงในอาหารที่เติมสารสกัดจากเชื้อรา ไปเลี้ยงในอาหารที่เพิ่มความเข้มข้นของสารสกัดจากเชื้อรา พบว่าแคลลัสและยอดเปล้าน้อยมีความต้านทานต่อสารสกัดจากเชื้อราสูงขึ้น จากความเข้มข้น 1,500 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งมี IAA 6.645 และ PAA 75.75 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็น 2,000 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งมี IAA 8.86 และ PAA 101.00 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยคิดเป็น 91 และ 92 เปอร์เซ็นต์การตายของแคลลัสและยอดเปล้าน้อยตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeGlomerella cingulata causing leaf spot on Croton sublyratus Kurz. gave maximum sporulation on day 7 when grown on Czapek's Agar. The spores were used as the source of toxin production quantitative comparison of toxin production by Glomerella cingulata grown in two different media showed that in Czapek's Dox medium containing 0.1% yeast extract, indoleacetic acid (IAA) and phenyl acetic acid (PAA) at 0.004 and 1.58 mg/l of culture broth were produced, respectively, which were higher than those in Richard's medium in which only 0.003 and 0.046 mg/l of IAA and PAA were produced, respectively. Toxicity test of the commercial available IAA and PAA showed positive effect on callus of Croton sublyratus Kurz. Both compounds had additive effects. Induction for resistance of Croton sublyratus Kurz. to the toxin extract from Glomerella cingulata was performed by challenging the callus and shoot to the increasing concentrations of the crude extract from this fungus. Callus and shoot resistant to higher concentration of the extract from 1500 ppm containing IAA at 6.645 mg/l and PAA at 75.75 mg/l to 2000 ppm containing IAA at 8.86 mg/l and PAA at 101.00 mg/l were obtained. At this concentration, about 91% and 92% of callus and shoot were killed, respectively.en
dc.format.extent3081207 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเปล้าน้อย (พืช) -- โรคen
dc.titleผลของสารสกัดจากเชื้อรา Glomerella cingulata ต่อการเจริญของเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อen
dc.title.alternativeEffect of crude extract from Glomerella cingulata on growth of Croton sublyratus Kurz. in tissue cultureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNaline.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasi.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.