Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประคอง ดังประพฤทธิ์กุล-
dc.contributor.advisorผุสดี ปริยานนท์-
dc.contributor.authorอัจฉริยา ไชยรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-24T03:18:32Z-
dc.date.available2009-06-24T03:18:32Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741310447-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9115-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการศึกษาผลของเมทิลพาราไทออนต่อปริมาณฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในพลาสมา และต่อเนื้อเยื่อของอัณฑะกบนาเพศผู้ Rana rugulosa อายุ 2, 4, 6, 8, 10 และ 12 เดือน โดยใช้เมทิลพาราไทออนที่ความเข้มข้น 20 ppm ติดต่อกันเป็นเวลา 60 วัน แล้วเก็บตัวอย่างเลือดของกบนาเพื่อนำไปปั่นเอาพลาสมาไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส จนกว่าจะนำไปวัดปริมาณฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนโดยวิธีเรดิโออิมมิวโนเอสเสย์ ทำการเก็บตัวอย่างอัณฑะของกบนาโดยตัดออกมาทั้งสองข้าง แล้วแช่ลงใน Bouin's solution ทันที เพื่อนำไปศึกษาทางด้านเนื้อเยื่อต่อไป ผลการศึกษาพบว่าเมทิลพาราไทออนมีผลทำให้ปริมาณของฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในพลาสมาของกบนาลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<=0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมยกเว้นในกบนาเพศผู้อายุ 2 เดือน โดยพบว่าในกบนาอายุ 4, 6, 8, 10 และ 12 เดือนมีปริมาณฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนลดลง 15.94%, 17.68%, 29.05%, 19.18% และ 27.12% ตามลำดับ จากการศึกษาเนื้อเยื่อของอัณฑะกบนาพบว่า เมทิลพาราไทออนมีผลทำลายเซลล์ลัยดิกโดยตรงและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่มีการรวมกลุ่มของโครมาตินรอบๆ เยื่อหุ้มนิวเคลียส นิวเคลียสอัดกันแน่นเป็นก้อนติดสีทึบอยู่กลางเซลล์ มีการบวมของเซลล์ มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสฉีกขาด และเกิดการสลายตัวของนิวเคลียสและมีการทำลายของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างท่อเซมินิเฟอรัส ผลการทดลองครั้งนี้สรุปได้ว่าผลของเมทิลพาราไทออนนี้ทำให้ปริมาณของฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในพลาสมาของกบนาเพศผู้ลดลง เกิดจากการที่เมทิลพาราไทออนทำลายลัยดิกส์เซลล์โดยตรงen
dc.description.abstractalternativeThe effects of methylparathion (MPT) on reproductive system of the male frog Rana rugulosa were investigated. Male frog ages of 2, 4, 6, 8, 10 and 12 months old were exposed to 20 ppm of MPT for 60 days. At the end of the experiment, animals were autopsied. Plasma samples were collected and kept at -20 ํC until testosterone (T) radioimmunoassay. Testes were fixed in Bouin's solution for histological study. MPT significantly lowered plasma T levels of the frog at all ages examined except of the frog at the age of 2 months. Plasma T levels decreased 15.94% in 4 month old, 17.68% in 6 month old, 29.05% in 8 month old, 19.18% in 10 month old and 27.12% in 12 month old frogs. Microscopic studied showed that MPT directly injuried Leydig cell and effected on cell structure. The histological alteration of Leydig cell composed of hydropic swelling, pyknotic nucleus, perinuclearchromatin clumping nucleus, karyolysis, nuclear membrane disruption and vacuolated of interstitial tissue. It is therefore concluded that the effect of MPT on lowering of T levels may exert directly on the Leydig cells.en
dc.format.extent9031849 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกบนา -- ผลกระทบจากสารเคมีen
dc.subjectสารเคมีทางการเกษตรen
dc.titleผลของเมทิลพาราไทออนต่อระบบสืบพันธุ์กบนาเพศผู้ Rana rugulosaen
dc.title.alternativeEffects of methylparathion on reproductive system of male frogs Rana rugulosaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสัตววิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorPutsateep@yahoo.com-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Artchariyaa.pdf8.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.