Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/922
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิตติ กันภัย | - |
dc.contributor.author | นงลักษณ์ ยิ้มศรวล, 2513- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-21T07:42:57Z | - |
dc.date.available | 2006-07-21T07:42:57Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9741707843 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/922 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ลักษณะของระบบสัญลักษณ์ทางเพศที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ และเพื่อวิเคราะห์ระบบสัญลักษณ์ทางเพศที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ที่มีอิทธิพลต่อการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี โดยมีทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interactionism), แนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับสังคม, แนวคิดเรื่องสื่อยอดนิยม (Popular media), แนวคิดในเรื่องเกี่ยวกับเพศ, แนวคิดในเรื่องการสรุปเหมารวม (Stereotype), แนวคิดในเรื่องการหล่อหลอมทางวัฒนธรรม, ความรู้เรื่องโรคเอดส์ เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ โดยผู้วิจัยได้เลือกตัวอย่างละครโทรทัศน์ที่แพร่ภาพในปี พ.ศ. 2543-2544 จำนวน 5 เรื่อง มาวิเคราะห์ลักษณะของระบบสัญลักษณ์ทางเพศที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ และระบบสัญลักษณ์ทางเพศที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ที่มีอิทธิพลต่อการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ระบบสัญลักษณ์ทางเพศในละครโทรทัศน์ที่มีอิทธิพลต่อการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี เป็นลักษณะของสัญลักษณ์ทางเพศที่เกิดจาก แบบแผนพฤติกรรม (Norm of behavior), สิ่งแวดล้อมกำหนด (Environmental interpretation), และค่านิยมทางสังคม (Societal values) อันได้แก่ การร่วมเพศอย่างไม่ปลอดภัย การสำส่อนทางเพศ พฤติกรรมมากผัวหลายเมีย พฤติกรรมที่มีความวิปริตทางกามารมณ์ การใช้ผู้หญิงเป็นวัตถุทางเพศของผู้ชาย การข่มขืน การเที่ยวกลางคืนของวัยรุ่น ความเจ้าชู้ การเที่ยวหญิงบริการ เป็นต้น | en |
dc.description.abstractalternative | The study aims to analyse the sexual symbolic system in television drama and influencing HIV/AIDS risk behaviors. The five television drama shown from 2000 to 2001 were selected for textual analysis and employing the symbolic interactionism, the concept of social and media relations, popular media, sexual concepts, stereotype, culture concepts and AIDS knowledge as a conceptual framework. The results of this study reveal that norm of behavior, environmental interpretation and societal values influences HIV/AIDS behaviors. The sexual symblolic system includes non-safe sexual intercourse, rape, polygamy, beau, having sexual intercourse with prostitutes, women as men's sexual object, men's night life culture, etc. | en |
dc.format.extent | 682067 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2001.446 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ละครโทรทัศน์ | en |
dc.subject | พฤติกรรมทางเพศ | en |
dc.title | ระบบสัญลักษณ์ทางเพศในละครโทรทัศน์ที่มีอิทธิพลต่อการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี | en |
dc.title.alternative | Sexual symbolic system in television drama influencing HIV/AIDS-risk behaviors | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Kitti.G@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2001.446 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nongluk.pdf | 814.2 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.