Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorสุภารัตน์ เรือจันทึก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-07-23T06:10:18Z-
dc.date.available2009-07-23T06:10:18Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743328041-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9295-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระยะยาวของความรู้สิ่งแวดล้อมระหว่างโมเดลเอชแอลเอ็ม และโมเดลลิสเรล ตัวอย่างประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2541 ในจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 509 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบวัดความรู้สิ่งแวดล้อม แบบวัดเจตคติ และแบบสอบถามประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมสิ่งแวดล้อม ผลการวิจัยที่สำคัญมีดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อสถานภาพเริ่มต้น พบว่า ในโมเดลทั้ง 2 ตัวแปรประสบการณ์ในการเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อ สถานภาพเริ่มต้นอย่างมีนัยสำคัญ ตัวแปรเพศไม่มีอิทธิพลต่อสถานภาพเริ่มต้น ส่วนตัวแปรเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมที่การวิเคราะห์ด้วยโมเดลเอชแอลเอ็มมีอิทธิพลต่อสถานภาพเริ่มต้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่ตัวแปรเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมที่การวิเคราะห์ด้วยโมเดลลิสเรลไม่มีอิทธิพลต่อสถานภาพเริ่มต้น 2. ผลการวิเคราะห์ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงทั้ง 2 โมเดล พบว่า ตัวแปรเจตคติต่อสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนตัวแปรเพศและตัวแปรประสบการณ์ในการเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมไม่มีอิทธิพลต่ออัตราการเปลี่ยนแปลง 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพเริ่มต้นและอัตราการเปลี่ยนแปลงทั้ง 2 โมเดล พบว่าสถานภาพเริ่มต้นมีความสัมพันธ์ทางบวก กับอัตราการเปลี่ยนแปลง อย่างมีนัยสำคัญ 4. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระยะยาวด้วยโมเดลลิสเรลสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงระยะยาวได้ดีกว่าโมเดลเอซแอลเอ็มเนื่องจากโมเดลมีความคลาดเคลื่อนที่ต่ำกว่าen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the analysis results of change in environmental knowledge obtained from longitudinal analysis by HLM and LISREL models. The sample consists of 509 students in mathayomsuksa 2 in the academic year 1998. The research instruments were the test for environmental knowledge, the test of environmental attitude and the questionnaire about environmental experiences. Results of the study can be summarized as follow : 1. The variables affected initial status from both models indicated that the environmental experiences were significantly affected the initial status, sex weren't affected the initial status, the environmental attitude from analysis by HLM model was significantly affected the initial status and the environmental attitude from the analysis by LISREL model wasn't affected the initial status. 2. The variables affected rate of change the from both models indicated that the environmental attitude were significantly affected the rate of change, the environmental experiences and sex weren't affected the rate of change. 3. The analysis results from both models indicated that the correlation between the initial status and the rate of change were positive and significantly. 4. The longitudinal analysis of change in environmental knowledge by LISREL model was more explicable the longitudinal analysis of change than HLM model because LISREL model was the lower erroren
dc.format.extent884414 bytes-
dc.format.extent956909 bytes-
dc.format.extent1353668 bytes-
dc.format.extent1003527 bytes-
dc.format.extent1169539 bytes-
dc.format.extent919954 bytes-
dc.format.extent1641957 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.subjectเอชแอลเอ็มโมเดลen
dc.subjectลิสเรลโมเดลen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectสิ่งแวดล้อมศึกษาen
dc.titleการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระยะยาวของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสิ่งแวดล้อม : การเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ด้วยโมเดลเอชแอลเอ็ม และโมเดลลิสเรลen
dc.title.alternativeLongitudinal analysis of change in environmental learning achievement : a comparison of data analysis results between HLM and LISREL modelsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTaweewat.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suparat_Ru_front.pdf863.69 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Ru_ch1.pdf934.48 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Ru_ch2.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Suparat_Ru_ch3.pdf980.01 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Ru_ch4.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Suparat_Ru_ch5.pdf898.39 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Ru_back.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.