Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9314
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพียรพรรค ทัศคร | - |
dc.contributor.author | สุเทพ อมรรังสิโรจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-07-23T07:47:09Z | - |
dc.date.available | 2009-07-23T07:47:09Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746379968 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9314 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | การลดขนาดเม็ดกำมะถันโดยใช้น้ำเป็นตัวกลาง เพื่อป้องกันการระเบิดที่อาจเกิดขึ้น พบว่าขนาดเฉลี่ยเม็ดกำมะถันและอัตราจำเพาะของการแตกทั้งก้อนลดลงอย่างรวดเร็วใน 15 นาทีแรก และช้าลงในช่วงเวลาถัดไปจนถึง 90 นาที ทั้งในเครื่องบดแบบใช้ลูกบดและในถังกวนที่ใช้ใบกวนอัตราเฉือนสูง โดยเม็ดกำมะถันขนาด 11, 6 และ 3 มิลลิเมตร จะแตกได้เป็นเม็ดกำมะถันขนาด 1.2, 0.4 และ 0.07 มิลลิเมตร โดยเครื่องกวนอัตราเฉือนสูงทำงานได้ดีกว่าเครื่องบดแบบใช้ลูกบด เพราะใช้พลังงานไฟฟ้าต่อน้ำหนักกำมะถันขนาดเฉลี่ยเม็ดกำมะถันที่ได้น้อยกว่า การบดด้วยเครื่องบดแบบใช้ลูกบด การเฉือนในถังกวนที่ค่าพลังงานมอเตอร์ต่อปริมาตรของไหล 8.8 กิโลวัตต์ต่อลูกบาศก์เมตร เพียงพอต่ออัตราส่วนโดยน้ำหนักกำมะถันต่อน้ำถึง 0.5 เพื่อได้เม็ดกำมะถันขนาดต่ำกว่า 0.4 มิลลิเมตร โดยสามารถทำนายสัดส่วนน้ำหนักกำมะถันที่เวลา 15 นาทีแรก สำหรับช่วงค่า 0<d/D32<7.5 F=0.3exp[-0.27(lnd/D32 - 0.02)2] โดย F คือสัดส่วนน้ำหนัก, d คือ ขนาด และ D32 คือ ขนาดเฉลี่ย เม็ดกำมะถันที่ผ่านการลดขนาดจะนำไปอบแห้งแบบถาด สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้ในการอบแห้งกับความชื้นเริ่มต้น สำหรับเม็ดกำมะถันขนาดต่ำกว่า 0.4 มิลลิเมตร ดังนี้ Td = -0.045W2 + 6.6W โดย Td คือเวลา (นาที) ที่ใช้อบแห้ง และ W คือร้อยละของน้ำเริ่มต้นในตัวอย่าง | en |
dc.description.abstractalternative | Size reduction of sulphur particles suspended in water, to prevent explosion, has indicated that the average particle size and specific rate of disintegrative fracture rapidly decrease within initial 15 minutes, then slowly afterward to 90 minutes both in ball mill and high-shear agitator. Average particle size of 11, 6 and 3 millimeter are reduced to 1.2, 0.4 and 0.07 millimeter. A high-shear agitator performs better than a ball mill, judging from lower electrical energy used for equivalent weight of sulphur and resultant average particle size. Shearing by the agitator using energy per volume of fluid (P/V) at 8.8 kilowatt per cubic meter suffices, for sulphur to water weight ratio of 0.5, to achieve particle size lower than 0.4 millimeter. Particle size distribution at the initial 15 minute, for 0<d/D32<7.5 can be predicated by F=0.3exp[-0.27(lnd/D32 - 0.02)2] Where F is weight fraction, D is particle size, and D32 is average particle size. The reduced sulphur particles were subsequently dried on tray dryer. The drying time and initial moisture for particle smaller than 0.4 millimeter may by represented empirically as Td = -0.045W2 + 6.6W Where Td is drying time (minute), and W is percent of initial moisture in the sample. | en |
dc.format.extent | 820150 bytes | - |
dc.format.extent | 715252 bytes | - |
dc.format.extent | 1292612 bytes | - |
dc.format.extent | 797077 bytes | - |
dc.format.extent | 898780 bytes | - |
dc.format.extent | 848101 bytes | - |
dc.format.extent | 716165 bytes | - |
dc.format.extent | 920148 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กำมะถัน | en |
dc.subject | อนุภาค | en |
dc.title | การแตกของเม็ดกำมะถันโดยใช้เครื่องกวนอัตราเฉือนสูง | en |
dc.title.alternative | Breakage of sulphur particles using high-shear agitator | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | pienpak.T@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthap_Am_front.pdf | 800.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_ch1.pdf | 698.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_ch2.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_ch3.pdf | 778.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_ch4.pdf | 877.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_ch5.pdf | 828.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_ch6.pdf | 699.38 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthap_Am_back.pdf | 898.58 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.