Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9368
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีณา จีระแพทย์ | - |
dc.contributor.author | สุชีวา วิชัยกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-07-28T07:58:16Z | - |
dc.date.available | 2009-07-28T07:58:16Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743335013 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9368 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาคลินิกของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังการสอนโดยอาจารย์พี่เลี้ยง และเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคลินิกหลังการทดลองของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มที่ได้รับการสอนโดยอาจารย์พี่เลี้ยงและกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่สอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ จำนวน 30 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามระดับ GPA เข้าเป็นกลุ่มควบคุม 15 คน กลุ่มทดลอง 15 คน โดยนักศึกษาพยาบาลในกลุ่มทดลองมีการปฏิบัติการพยาบาลคู่กับอาจารย์พี่เลี้ยงที่เป็นพยาบาลประจำการ ที่มีความชำนาญทางคลินิก สามารถสอน ให้คำแนะนำปรึกษา นิเทศ ประเมินผล เป็นตัวแบบที่ดี รวมทั้งเป็นทรัพยากรบุคคลที่คอยอำนวยความสะดวกแก่นักศึกษาแบบตัวต่อตัวตลอดระยะเวลา 2 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แบบประเมินศักยภาพอาจารย์พี่เลี้ยง คู่มืออาจารย์พี่เลี้ยง แบบทดสอบความรู้อาจารย์พี่เลี้ยงและแบบประเมินกิจกรรมตามบทบาทอาจารย์พี่เลี้ยง 6 บทบาท ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการสังเคราะห์เนื้อหา และผ่านการตรวจสอบความตรงกับความเที่ยงแล้ว เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาล (MEQ) โดยผู้วิจัยสร้างจากสถานการณ์จริงในคลินิก และผ่านการตรวจสอบความตรงในเนื้อหาและความเที่ยงแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยที่สำคัญ คือ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาลในกลุ่มทดลอง หลังการทดลอง สูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาล ในกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi-experimental research were to compare clinical problem solving ability of nursing students and to compare clinical problem solving ability of nursing students between experiment group and control group. Subjects consisted of 30 nursing students whom were equally assigned to experimental group and control group. Nursing students in the experimental group worked closly with staff nurse who was teaching by using preceptors' 6 role on a one to one basis for a 2-month period. The instruments, used in this study, were developed by the researcher and test for content validity. The clinical problem solving ability was tested by the modified essay question and obtained internal reliability of 0.84. Data were analyzed by mean standard deviation and t-test. Major results of study were as follows: 1. The clinical problem solving ability of nursing students after the experiment were significantly higher than that before the experimental, at the .05 level. 2. After the experiment, the clinical problem solving ability of nursing students in the experiment group was significantly higher than that in the control group, at the .05 level. | en |
dc.format.extent | 771741 bytes | - |
dc.format.extent | 822202 bytes | - |
dc.format.extent | 1324712 bytes | - |
dc.format.extent | 1110334 bytes | - |
dc.format.extent | 737474 bytes | - |
dc.format.extent | 821413 bytes | - |
dc.format.extent | 1283084 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.533 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การแก้ปัญหา | en |
dc.subject | พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล | en |
dc.subject | ครูพี่เลี้ยง | en |
dc.subject | Problem solving | - |
dc.subject | Nursing students | - |
dc.title | ผลการสอนโดยอาจารย์พี่เลี้ยงต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนกกระทรวงสาธารณสุข | en |
dc.title.alternative | Effects of teaching by preceptors on clinical problem solving ability of nursing students, nursing colleges under the Jurisdiction of Praboromrajchanok Institute, the Ministry of Public Health | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การพยาบาลศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Veena.J@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1999.533 | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sujsheewa_Wi_front.pdf | หน้าปก และ บทคัดย่อ | 753.65 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sujsheewa_Wi_ch1.pdf | บทที่ 1 | 802.93 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sujsheewa_Wi_ch2.pdf | บทที่ 2 | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sujsheewa_Wi_ch3.pdf | บทที่ 3 | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sujsheewa_Wi_ch4.pdf | บทที่ 4 | 720.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sujsheewa_Wi_ch5.pdf | บทที่ 5 | 802.16 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sujsheewa_Wi_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.