Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชุตา รัตนเพียร-
dc.contributor.authorเนาวนิตย์ ใจมั่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-30T02:02:22Z-
dc.date.available2009-07-30T02:02:22Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743346783-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9386-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาผลของแบบการคิดและรูปแบบการสอนคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จประยุกต์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี แบบการคิดที่นำมาศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบการคิดแบบอิสระและแบบการคิดแบบไม่อิสระ และรูปแบบการสอน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการสอนหลักการก่อนการฝึกปฏิบัติและรูปแบบการสอนหลักการและการฝึกปฏิบัติพร้อมกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนิสิตระดับปริญญาตรีที่เรียนวิชา 2708121 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2542 รวมทั้งสิ้น 190 คน ในการทดสอบแบบทดสอบนี้ ผู้วิจัยได้ทดลองเป็นกลุ่มตามที่นิสิตที่เป็นกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนได้ลงทะเบียนเรียนตามที่ต้องการมีทั้งสิ้น 4 กลุ่ม เมื่อวัดแบบการคิดแล้ว คัดให้เหลือ 80 คน คือ แบบการคิดแบบอิสระ 40 คน และแบบการคิดแบบไม่อิสระ 40 คน หลังจากนั้นสุ่มอย่างง่ายว่ากลุ่มใดจะได้รับการสอนรูปแบบใด ดังนั้นจึงมีกลุ่มทดลองทั้งสิ้น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ผู้รับการทดลองเป็นผู้มีแบบการคิดแบบไม่อิสระ ได้รับรูปแบบการสอนหลักการและการฝึกปฏิบัติพร้อมกัน กลุ่มที่ 2 ผู้รับการทดลองเป็นผู้มีแบบการคิดแบบอิสระ ได้รับรูปแบบการสอนหลักการและการฝึกปฏิบัติพร้อมกัน กลุ่มที่ 3 ผู้รับการทดลองเป็นผู้มีแบบการคิดแบบไม่อิสระ ได้รับรูปแบบการสอนหลักการก่อนการฝึกปฏิบัติ กลุ่มที่ 4 ผู้รับการทดลองเป็นผู้มีแบบการคิดแบบอิสระ ได้รับรูปแบบการสอนหลักการก่อนการฝึกปฏิบัติ เรื่องที่สอนได้แก่ 1. ไมโครซอฟท์เวิร์ด 2. ไมโครซอฟท์เอ็กเซล 3. ไมโครซอฟท์เพาเวอร์พอยน์เรียนเรื่องละ 3 ครั้งรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง รวบรวมคะแนนจากการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 9 ครั้ง มาวิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติ ความแปรปรวนร่วม (Analysis of Covariance) สรุปผลการวิจัย 1. ผู้เรียนที่มีแบบการคิดต่างกันคือ แบบการคิดแบบอิสระและแบบการคิดแบบไม่อิสระเมื่อเรียนคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จประยุกต์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ผู้เรียนที่เรียนคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จประยุกต์ด้วยรูปแบบการสอนที่ต่างกันคือ รูปแบบการสอนหลักการก่อนการฝึกปฏิบัติและรูปแบบการสอนหลักการและการฝึกปฏิบัติพร้อมกันมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และรูปแบบการสอนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีกว่า คือ รูปแบบการสอนหลักการก่อนการฝึกปฏิบัติ 3. ผู้เรียนที่มีแบบการคิดต่างกันเมื่อเรียนคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จประยุกต์ด้วยรูปแบบการสอนที่ต่างกันมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study effects students of cognitive styles and teaching models of computer application program on learning achievement of undergraduate students. Students cognitive styles were divided into 2 groups: students with field dependent; and students field independence. Teaching models used in this study were practure following the lecture and practure interpersed within the lecture. The samples were 190 faculty of Education Chulalongkorn University students registered in the foundation of computer education (2708121) course. Samples were randomly assigned to be in one of the 4 experimental groups: 1) 20 students with field independence were taught by practure following the lecture; 2) 20 students with field dependence were taught by practure following the lecture; 3) 20 students with field independence were taught by practure interpersed within the lecture; 4) 20 students with field dependence were taught by practure interpersed within the lecture. The application programs taught in the course were: 1) Microsoft Word; 2) Microsoft Excel; 3) Microsoft PowerPoint. The Analysis of Covariance were used to analyze the research data. The finding were as follows: 1. There was no significant difference at .01 level on learning achievement of students with different cognitive styles learning computer application programs. 2. The study showed a significant difference at .01 level between the experimental groups. Students who were taught by practure interpersed within the lecture teaching model scored significantly higher than students who were taught by practure following the lecture teaching model. 3. There was no significant difference at .01 level on learning achievement of students with different cognitive styles who were taught computer application programs by different teaching models.en
dc.format.extent766802 bytes-
dc.format.extent781579 bytes-
dc.format.extent979465 bytes-
dc.format.extent769954 bytes-
dc.format.extent716529 bytes-
dc.format.extent765622 bytes-
dc.format.extent1764118 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.418-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความคิดและการคิดen
dc.subjectโปรแกรมคอมพิวเตอร์en
dc.subjectความแตกต่างระหว่างบุคคลen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleผลของแบบการคิดและรูปแบบการสอนคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จประยุกต์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีen
dc.title.alternativeEffects of cognitive styles and teaching models of computer application program on learning achievement of undergraduate studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVichuda.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.418-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Noawanit_Ch_front.pdf748.83 kBAdobe PDFView/Open
Noawanit_Ch_ch1.pdf763.26 kBAdobe PDFView/Open
Noawanit_Ch_ch2.pdf956.51 kBAdobe PDFView/Open
Noawanit_Ch_ch3.pdf751.91 kBAdobe PDFView/Open
Noawanit_Ch_ch4.pdf699.74 kBAdobe PDFView/Open
Noawanit_Ch_ch5.pdf747.68 kBAdobe PDFView/Open
Noawanit_Ch_back.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.