Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน-
dc.contributor.authorจินตนา เล็กล้วน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-04T05:32:19Z-
dc.date.available2009-08-04T05:32:19Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743313737-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9584-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล และเรียนแบบปกติ 2. เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีเรียนกับระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิศาสตร์ 3. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อวิชาคณิศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล และเรียนแบบปกติ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม จังหวัดนนทบุรี ปีการศึกษา 2541 จำนวน 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เรียนโดยวิธีการเรียนแบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ กลุ่มที่ 2 เรียน โดยวิธีเรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล และกลุ่มที่ 3 เรียนแบบปกติ จากนั้นทำการทดสอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และแบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง และค่าที (t-difference scores) ผลการวิจัยพบว่า : 1. นักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล และสูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ไม่แตกต่างกับนักเรียนที่เรียนแบบปกติ 2. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีเรียน กับระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3. นักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล และสูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อวิชาคณิตศาสตร์ ไม่แตกต่างกับนักเรียนที่เรียนแบบปกติen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were : 1. to compare mathematics learning achievement of students studied through two types of cooperative learning : Student Teams Achievement Divisions (STAD) and Team Assisted Individualization (TAI), and studied through conventional method. 2. to study interaction between types of learning and mathematics learning levels of students on mathematics learning achievement. 3. to compare motivation towards mathematics of students studied through two types of cooperative learning : STAD and TAI, and studied through conventional method. The samples were three groups of mathayom suksa one students of Nonthaburipittayakom School at Nonthaburi province in academic year 1998. The first group learned through STAD. The second group learned through TAI and the third group learned through conventional method. After accomplishing the entire learning, the samples took mathematics learning achievement test and motivation towards mathematics test. The data were analyzed by means of 2-way ANOVA and t-difference scores. The results of the study showed that : 1. the students studied through STAD showed higher mathematics learning achievement than those studied through TAI and conventional method at 0.05 level of significance. There was no difference in mathematics learning achievement of students studied through TAI and those studied through conventional method. 2. there was no interaction effect between types of learning and levels of mathematics achievement of students on mathematics learning achievement. 3. the students studied through STAD showed higher motivation towards mathematics than those studied through TAI and conventional method at 0.05 level of significance. There was no difference in motivation towards mathematids of students studied through TAI and those studied through conventional method.en
dc.format.extent790667 bytes-
dc.format.extent837819 bytes-
dc.format.extent991620 bytes-
dc.format.extent844518 bytes-
dc.format.extent731649 bytes-
dc.format.extent771579 bytes-
dc.format.extent1269478 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์en
dc.titleผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeEffects of cooperative learning on mathematics learning achievement and motivation towards mathematics of mathayom suksa one studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrompan.U@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jintana_Le_front.pdf772.14 kBAdobe PDFView/Open
Jintana_Le_ch1.pdf818.18 kBAdobe PDFView/Open
Jintana_Le_ch2.pdf968.38 kBAdobe PDFView/Open
Jintana_Le_ch3.pdf824.72 kBAdobe PDFView/Open
Jintana_Le_ch4.pdf714.5 kBAdobe PDFView/Open
Jintana_Le_ch5.pdf753.5 kBAdobe PDFView/Open
Jintana_Le_back.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.