Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงค์กิจ-
dc.contributor.authorศิราณี อนุศิลปชาญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-04T07:07:23Z-
dc.date.available2009-08-04T07:07:23Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745688827-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9599-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มุ่งศึกษาการใช้สื่อและการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารภายหลังการรู้หนังสือของผู้รู้หนังสือใหม่ของผู้ร่วมโครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือจังหวัดพิจิตร โดยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสัมภาษณ์กับผู้ร่วมโครงการ 2 ระยะ คือ ก่อนการรู้หนังสือเมื่อเดือนมีนาคม 2528 และเมื่อเป็นผู้รู้หนังสือใหม่แล้วเมื่อเดือนมกราคม 2530 ผลจากการศึกษาพบว่า การรู้หนังสือของผู้รู้หนังสือใหม่ มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มปริมาณการใช้วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ฝาผนัง นิตยสาร หนังสือวิชาการ เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพยนตร์ ป้ายประกาศของทางราชการ แผ่นปลิวโฆษณาสินค้า และเอกสารจากหน่วยราชการ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคลกับการใช้สื่อและการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารนั้น พบว่า เพศชาย มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงการใช้สื่อ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์รายวัน ป้ายประกาศของทางราชการมากกว่าเพศหญิง ผู้มีอายุน้อยจะเปลี่ยนแปลงการใช้สื่อภาพยนตร์ หอกระจายข่าว นิตยสารมากกว่าผู้มีอายุค่อนข้างสูง แต่ผู้มีอายุค่อนข้างสูงจะเพิ่มการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารบ้านเมือง-การปกครองมากกว่าผู้มีอายุน้อย และผู้มีรายได้สูงจะเปลี่ยนแปลงการใช้สื่อ นิตยสาร หนังสือวิชาการเทปบันทึกเสียง และเทปบันทึกภาพมากกว่าผู้มีรายได้น้อย สำหรับการใช้สื่อแต่ละประเภทนั้น มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสาร ดังนี้ การเพิ่มการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารด้านการเมืองการปกครอง มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงการใช้สื่อป้ายประกาศของทางราชการ, การเพิ่มการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารเน้นการพัฒนาอาชีพมีความสัมพันธ์กับการใช้สื่อหนังสือพิมพ์ฝาผนัง หนังสือวิชาการ ภาพยนตร์ หอกระจายข่าว และแผ่นปลิวโษฆษณาสินค้า, การเพิ่มการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารเน้นสาธารณสุขมูลฐาน มีความสัมพันธ์กับการใช้สื่อวิทยุ หนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ฝาผนัง นิตยสาร หอกระจายข่าว แผ่นปลิวโฆษณาสินค้า และการเพิ่มการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารด้านบันเทิงมีความสัมพันธ์กับการใช้สื่อหนังสือพิมพ์ฝาผนังen
dc.description.abstractalternativeThe study of media use and perceived utility of media after neo- literacy is a survey using local people questionnaire form to collect data. Respondents were who participated the National Literacy Campaign Project in Pichit. The survey was divided in to two phases. The first was done in March 1986. The second was conducted in January 1988. That was after the participants had already passed the literacy standard test. The result of this study are as follows. The analysis shows that literacy is related to the increased use of radio, TV., newspaper, wall newspaper, magazine, academic book, tape cassette, video cassettes, film, bill board, government annoucement, advertising leaflet and government pamphlet. Analysis of relationship between personal factors and media use and perceived utility of media, male participants tend to use of increase the TV., newspapers and government annoucement more than female participants. Younger participants use films, village information center and magazine more than elder participants. In addition, elder literated perceived the utility of political information better than the youngsters. Higher income group tends to increase the use of magazine, text book, tape cassettes and video cassettes more than the lower income group. The analysis of relationship of relationship between media use and perception of media's utility. For instance, government announcement is suitable for perception on political information, while wall newspaper, text book, film, village information center and advertising leaflet are the most effective media for transfering information on vocational development. In addition, after neo-literacy, the perception of primary health care information will be well perceived through radio, newspaper, wall newspaper, magazine and advertising leaflet, and people perception on entertainment is related to wall newspaper.en
dc.format.extent8184648 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectข่าวสารen
dc.subjectการรู้หนังสือen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.titleการใช้สื่อและการรับรู้ในสาระประโยชน์ของข่าวสารภายหลังการรู้หนังสือของผู้รู้หนังสือใหม่en
dc.title.alternativeMedia use and perceived utility of media after neo-literacyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siranee.pdf7.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.