Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorไพบูลย์ สุทธิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-06T10:47:44Z-
dc.date.available2009-08-06T10:47:44Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741303769-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9744-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางสมอง ระหว่างกลุ่มที่ฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ และกลุ่มที่ฝึกด้วยแบบฝึกแบบเขียนกลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2543 โรงเรียนวัดน้อยนพคุณ กรุงเทพมหานคร จำนวน 70 คน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางสมองด้วยคอมพิวเตอร์ และกลุ่มที่ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางสมองด้วยแบบฝึกแบบเขียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการสอนรายคาบวิชาคณิตศาสตร์ แบบฝึกสมรรถภาพทางสมองที่เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบฝึกสมรรถภาพทางสมองที่เป็นแบบฝึกแบบเขียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีค่าความเที่ยง 0.75 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางสมองด้วยคอมพิวเตอร์ และนักเรียนที่ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางสมองด้วยแบบฝึกแบบเขียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน ที่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the mathematics learning achievement of mathayom suksa one students between groups training mental competency via computer and via paper pencil. The subjects of this study were 70 mathayom suksa one students in 2000 academic year of Wat Noinoppakun School in Bangkok Metropolis. They were divided into two experimental groups with mental competency training by computer assisted instruction and by paper pencil. The research instruments were the mathematics lesson plans, the mental competency training exercises (computer assisted-instruction and paper pencil) and the mathematics learning achievement test with the reliability of 0.75 . The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and t test. The results of this study showed that : The mathematics learning achievement of mathayom suksa one students between groups training mental competency via computer and via paper pencil was not different at the 0.05 level of significance .en
dc.format.extent4396588 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.541-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ที่ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางสมอง ระหว่างกลุ่มที่ฝึกด้วยคอมพิวเตอร์และกลุ่มที่ฝึกด้วยแบบฝึกแบบเขียนen
dc.title.alternativeA comparison of mathematics learning achievement of mathayom suksa one students between groups training mental competency via computer and via paper-pencilen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwattana.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.541-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PaiboonSutti.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.