Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาทิต เบญจพลกุล-
dc.contributor.authorชีวโรจน์ นวลประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-07T03:11:33Z-
dc.date.available2009-08-07T03:11:33Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743320261-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9767-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตเชิงเรขาคณิต ที่ใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเซลลูลาร์ระบบจีเอสเอ็ม ให้มีความน่าจะเป็นของการติดขัดของการเรียกของทั้งระบบ ต่ำกว่าวิธีที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน ภายใต้สภาวะทราฟฟิกที่มีการกระจายแบบไม่สม่ำเสมอ โดยอาศัยเทคโนโลยีทีดีเอ็มเอที่สามารถทำได้ในปัจจุบัน ด้วยวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตเชิงเรขาคณิตฟังก์ชันค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณที่พัฒนามาจากวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตเชิงเรขาคณิต โดยนำเอาวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตด้วยวิธีการคำนวณค่าใช้จ่ายมาใช้ร่วมกัน เพื่อให้มีสมรรถนะในด้านความน่าจะเป็นของการติดขัดของการเรียกของทั้งระบบดีขึ้นภายใต้สภาวะทราฟฟิกที่มีการกระจายแบบไม่สม่ำเสมอ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้แบบจำลองระบบและการจัดรูปแบบเฟรมทีดีเอ็มเอที่อ้างอิงกับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่จีเอสเอ็ม ซึ่งประกอบด้วย 2 แบบจำลองระบบคือ แบบจำลองที่ใช้แบบรูปการใช้ความถี่ซ้ำ 7 เซลล์ จำนวน 49 เซลล์ และ 40 ช่องสัญญาณต่อเซลล์ และแบบจำลองที่ใช้แบบรูปการใช้ความถี่ซ้ำ 3 เซลล์ จำนวน 30 เซลล์ และ 32 ช่องสัญญาณต่อเซลล์ ผลการจำลองแบบจำลองทั้ง 2 แสดงให้เห็นว่าความน่าจะเป็นของการติดขัดของการเรียกของทั้งระบบของวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตเชิงเรขาคณิต-ฟังก์ชันค่าใช้จ่ายที่เสนอต่ำกว่าวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตเชิงเรขาคณิต ในกรณีทราฟฟิกที่มีการกระจายแบบสม่ำเสมอและไม่สม่ำเสมอเป็น 3.63% และ 9.79% ตามลำดับ แต่อัตราการแฮนด์โอเวอร์ภายในเซลล์โดยเฉลี่ยสูงกว่าในกรณีทราฟฟิกที่มีการกระจายแบบสม่ำเสมอและไม่สม่ำเสมอเป็น 17.84% และ 1.98% ตามลำดับ นอกจากนี้วิธีการจัดสรรช่องสัญญาณที่เสนอยังสามารถลดจำนวนคลื่นพาห์ในแต่ละสถานีฐานลงเหลือเพียง 9 และ 6 คลื่นพาห์ โดยยังคงมีสมรรถนะใกล้เคียงกับเมื่อใช้จำนวนคลื่นพาห์ 35 และ 12 คลื่นพาห์สำหรับแบบจำลองที่ใช้แบบรูปการใช้ความถี่ซ้ำ 7 เซลล์ และ 3 เซลล์ ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to improve the Geometric Dynamic Channel Allocation (GDCA) method for nonuniform traffic in GSM Cellular Mobile Telephone Network in order to reduce call blocking probability when compared to the existing and the proposed channel allocation methods. Using TDMA technology, the proposed Geometric-Cost Function Dynamic Channel Allocation (G-CFDCA) method combines GDCA method to Cost Function Dynamic Channel Allocation (CFDCA) method to improve the performance of channel allocation for nonuniform traffic. The utilized models with TDMA frame format arrangement, are based on GSM mobile telephone system and consist of 2 models :the model of 49 cells with frequency reuse pattern of 7 cells and 40 channels per cell and the model of 30 cells with frequency reuse pattern of 3 cells and 32 channels per cell. The simulation results of these 2 models show that the proposed G-CFDCA method give a probability of call blocking less than GDCA method for uniform and nonuniform traffic as 3.63% and 9.79%, respectively. On the contrary, the average value of intracell handover rate of G-CFDCA method is higher than that of GDCA method for uniform and nonuniform traffic as 17.84% and 1.98%, respectively. The proposed method also reduces the number of carriers of base station to 9 and 6 with approximately the same performance as base station with 35 and 12 carriers for the model with frequency reuse pattern of 7 cells and of 3 cells, respectively.en
dc.format.extent830982 bytes-
dc.format.extent729779 bytes-
dc.format.extent876807 bytes-
dc.format.extent970711 bytes-
dc.format.extent2956253 bytes-
dc.format.extent737232 bytes-
dc.format.extent714073 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.subjectช่องสัญญาณพลวัตen
dc.titleการปรับปรุงการจัดสรรช่องสัญญาณแบบพลวัตเชิงเรขาคณิต สำหรับทราฟฟิกไม่สม่ำเสมอในโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเซลลูลาร์ระบบจีเอสเอ็มen
dc.title.alternativeImprovement of geometric dynamic channel allocation for nonuniform traffic in the GSM Cellular Mobile Telephone Networken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWatit.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cheewarote_Nu_front.pdf811.51 kBAdobe PDFView/Open
Cheewarote_Nu_ch1.pdf712.67 kBAdobe PDFView/Open
Cheewarote_Nu_ch2.pdf856.26 kBAdobe PDFView/Open
Cheewarote_Nu_ch3.pdf947.96 kBAdobe PDFView/Open
Cheewarote_Nu_ch4.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open
Cheewarote_Nu_ch5.pdf719.95 kBAdobe PDFView/Open
Cheewarote_Nu_back.pdf697.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.