Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorเกศกัญญา ชาญเชี่ยวกอบกิจ, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-22T07:22:07Z-
dc.date.available2006-07-22T07:22:07Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn97417269669-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/978-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง "กระบวนการสื่อสารในการเรียนร่วมของเด็กตาบอดกับเด็กสายตาปกติในห้องเรียน" เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารของครูที่สอนในห้องเรียนร่วมศึกษาการปรับตัวของเด็กตาบอดในการเรียนร่วมกับเด็กสายตาปกติ ศึกษาการปรับตัวของเด็กสายตาปกติในการเรียนร่วมกับเด็กตาบอด รูปแบบการวิจัยเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept Interview) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (non-participate) เป็นระยะเวลา 45 วัน ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการสื่อสารของครูที่สอนในห้องเรียนร่วมจะประสบผลสำเร็จจากการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูกับเด็ก และการใช้ทักษะการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจในการเรียนการสอน 2. การปรับตัวของเด็กตาบอดในการเรียนร่วมกับเด็กสายตาปกติจะปรับตัวได้เร็วหากเด็กมีความสนใจในเนื้อหาวิชานั้นๆ มีเคารพศรัทธาอาจารย์ที่สอนและได้รับช่วยเหลือจากเพื่อนสายตาปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อนที่เป็นเพศเดียวกัน3. การปรับตัวของเด็กสายตาปกติในการเรียนร่วมกับเด็กตาบอด ขึ้นอยู่กับพื้นฐานครอบครัวสภาพแวดล้อม และการเตรียมความพร้อมของโรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งที่สนับสนุนในการปรับตัวของเด็กสายตาปกติในการเรียนร่วมกับเด็กตาบอดen
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this study were to investigate communication process of sight disabled students among normal sight students in classroom. In-depth interview and non-participate was conducted for data gathering in 45 days. The result of this study were as follows: 1) Teacher's communication process in classroom will success from relating between teachers and students. Including persuasive communication skill in teaching. 2) The adjustment of sight disabled students will faster than normal sight students. They will pay atention in text, respect the teachers and support from normal sight students especially same sexs. 3) The adjustment of normal sight students among sight disabled students will depend on family base and environment. The school preparation will support the adjustment of normal sight student among sight disabled students in classroom.en
dc.format.extent19897804 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.480-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารทางการศึกษาen
dc.subjectการโน้มน้าวใจen
dc.subjectเด็กตาบอดen
dc.subjectการเรียนร่วมของเด็กพิเศษen
dc.titleกระบวนการสื่อสารในการเรียนร่วมของเด็กตาบอดกับเด็กสายตาปกติในห้องเรียนen
dc.title.alternativeCommunication process of sight disabled students studying among normal sight students in classroomen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.480-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ketkanya.pdf9.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.