Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9797
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต นิตยะ-
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ จารุทัศน์-
dc.contributor.authorกรทิพย์ พฤกษ์ประเสริฐดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-07T04:53:50Z-
dc.date.available2009-08-07T04:53:50Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312934-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9797-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractคณะรัฐมนตรีมีมติเมือวันที่ 10 สิงหาคม 2536 ให้ดำเนินการโยกย้ายจัดหาที่อยู่ใหม่ให้กับผู้บุกรุกใตัสะพาน จำนวน 695 ครอบครัว 77 แห่ง 65 สะพาน 26 เขต เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตชาวชุมชนใต้สะพานให้ดีขึ้น และเพื่อต้องการพัฒนาสิ่งแวดล้อมใต้สะพานให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบเร้อยโดยให้กรุงเทพมหานคร (กทม.) ร่วมกับการเคหะแห่งชาติ (กคช.) รับไปดำเนินการภายใต้ปีงบประมาณ 2537 โดยใช้ กคช.จัดหาและปรับปรุงที่ดินแปลงโล่งพร้อมสาธารณูปโภค ให้เช่าในราคาถูก และ กทม.ดำเนินการโยกย้าย รวมทั้งควบคุมดูแลพื้นที่ มิให้มีการบุกรุกเพิ่มเติมหลังการอพยพโยกย้าย การจัดหาที่ดิน เพื่อจัดทำโครงการ เป็นการดำเนินการภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นของชาวชุมชน ที่ดินรองรับชุมชนใต้สะพาน แบ่งออกเป็น 3 พื้นที่คือบริเวณซอยประชาอุทิศ 76 บริเวณหลังชุมชน 40 ไร่ อ่อนนุช และบริเวณถนนเพิ่มสิน-ออเงินในส่วนของที่อยู่อาศัย ผู้อยู่อาศัยต้องดำเนินการก่อสร้างที่พักอาศัยด้วยตนเอง จากแนวคิดที่เชื่อว่าชุมชนมีศักยภาพในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษากระบวนการ ในการก่อสร้างบ้านด้วยตนเอง และเปรียบเทียบการสร้างบ้านกันเอง ในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการสร้างบ้าน สำหรับผู้ที่ย้ายจากชุมชนใต้สะพาน ผลการศึกษาพบว่าลักษณะที่อยู่อาศัยของทั้ง 3 ชุมชน ชุมชนประชาอุทิศ 76 ชุมชนอ่อนนุช และชุมชนเพิ่มสิน-ออเงิน ส่วนใหญ่เป็นอาคารพักอาศัยแบบถาวร วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างบ้านวัสดุของใหม่มาใช้ทั้งหมด วัสดุเก่ามือสอง และวัสดุเหลือใช้ที่ไปเก็บมา โดยมีรูปแบบในการดำเนินการก่อสร้าง 6 รูปแบบคือแบบที่ 1 สร้างโดยใช้เฉพาะคนในครอบครัวเป็นผู้ที่มีความรู้ ในการสร้างบ้านอยู่แล้วและเป็นอาชีพเป็นช่างก่อสร้าง ปัญหาในการสร้างบ้านรูปแบบนี้มาจากการขาดเงินทุน และการประหยัดวัสดุมากเกินไปทำให้โครงสร้างบางส่วนอาจจะไม่แข็งแรง แบบที่ 2 สร้างโดยแต่ละครอบครัวดำเนินการเอง แต่มีเพื่อนหรือญาติมาช่วย ปัญหาในการสร้างบ้านแบบนี้มาจากการขาดเงินทุน และแรงงานในบางช่วงเวลาซึ่งไม่สามารถกำหนดเวลา ที่จะเป็นเพื่อนหรือญาติมาช่วยได้ แบบที่ 3 สร้างโดยการร่วมกลุ่มกันหลายๆ บ้าน เป็นผู้ที่มีความรู้ในการสร้างบ้านต่างกัน หรือผู้ที่ไม่มีความรู้ในการสร้างบ้านไปขอจับกลุ่ม กับผู้ที่มีความรู้ปัญหาในการสร้างบ้านแบบนี้ มาจากการขาดเงินทุน ขาดความรู้ และสร้างบ้านตามกันโดยไม่รู้ว่าวิธีที่สร้างนั้นถูกหรือผิด แบบที่ 4 สร้างโดยการจ้างเฉพาะแรงงานเป็นผู้ที่มีความรู้ในการสร้างบ้านเป็นอย่างดี ปัญหาการสร้างบ้านมาจากการขาดเงินทุน ไม่มีแรงงาน และใช้เวลาในการก่อสร้างนาน แบบที่ 5 สร้างโดยการจ้างเหมาบางส่วนเป็นผู้ที่มีความรู้ในการสร้างบ้านเฉพาะบางอย่างปัญหาในการสร้างบ้านมาจากการขาดเงินทุนและขาดความรู้ในเรื่องการก่อสร้างบางส่วนทำให้จำเป็นต้องจ้างและเป็นการประหยัดมากเกินไป แบบที่ 6 สร้างโดยการจ้างเหมาทั้งหมดเป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ในการสร้างบ้านและไม่เคยสร้างบ้านมาก่อน ผู้รับเหมาที่จ้างจะเป็นผู้ที่มีความคุ้นเคยกันมาก่อน ปัญหาในการสร้างบ้านแบบนี้มาจากการการขาดเงินทุนและความรู้ในเรื่องการก่อสร้าง รูปแบบที่มีจำนวนมากที่สุดคือแบบที่ 6 และน้อยที่สุดคือแบบที่ 4 เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสร้างบ้านของผู้ที่ย้ายจากใต้สะพานจะประกอบด้วย ความรู้พื้นถิ่นที่มาจากการประกอบอาชีพหรือประสบการณ์ในอดีตที่เคยมีมา การใช้วัสดุพื้นถิ่นที่สามารถหามาได้โดยไม่ต้องซื้อมาสร้างบ้าน และระบบการก่อสร้างก่อให้เกิดความสัมพันธ์ในชุมชมก่อให้เกิดการรวมตัวของชุมชน ยิ่งระดับของการร่วมกันสร้างมากขึ้นจะสามารถลดค่าก่อสร้างและเวลาในการก่อสร้างลงได้มาก ดังนั้นหากมีรวมกลุ่มกันมากขึ้น แบบบ้านที่เหมาะสมกับระดับรายได้และเงินสนับสนุนที่เพียงพอหลังจากการรื้อย้ายและส่งเสิรมอาชีพ ก็จะช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในการสร้างบ้านของชาวชุมชนใต้สะพานได้en
dc.description.abstractalternativeOn 10th August 1993, the cabinet passed a resolution to relocate and provide new shelters for underbridge people, which amounts to 695 housholds, 77 areas, 65 bridge and in 26 districts. This is an attempt to improve the quality of life and develop community environment. The Bangkok Metropolitan and the National Housing Authority (NHA) are responsible for this project factored in the 1994 budget. NHA prepared and improved land with public utility for cheep renting of premises. The Bangkok Metropolitan relocated and controlled the area. Land preparation is from people's opinion. the underbridge community covers three areas that are Soi Prachautit 76, Onnuch and Permsin-Orngen Road. According to the concept, that community has potential in building their own housing. This research aims to study about building process by oneself and about comparison between types of building processes on their own including problems in construction. The study finds that housing type of three communities, which are Prachautit, Onnuch and Permsin-Orngen, mostly are permanent shelters. Building materials are new materials, second-hand materials and recycled materials. Housing processes can be divided into 6 types. First, a member of a family whose career is a builder is the leader in construction. The problem here in this process is the lack of capital and weak structure becasuse people save too many materials. In second type, a family handles the construction but asks some friends and relatives for help. The problem is the lack of money and can't fix the definite time for labors. Third process is building in group between skilled person and unskilled person. The problem here in this process is the lack of money, knowledge and building house without consideration if it's right or wrong. The fourth, the owner hires a skilled builder. The problem here in this process is the lack of capital, labors and the construction is delayed. The fifth is hiring the builder to build some part of a house. the problem here is the lack of money and it's too save. Lastly, hiring an unskilled builder and never building a house but be familiar with the owner. The problem here is the lack of money and knowledge. The most popular type is the sixth and the least type is fourth. The appropriate technological knowledge are consisted of their own skills and past experience from their professions. Using local materials without buying and building system create cohesion and unity in the community. The more people cooperate, the less building cost and time they can reduce. Thus, if people share more, appropriate housing type, enough supplement money and income from their permanent jobs can reduce the housing construction problem of the underbridge slumsen
dc.format.extent13557918 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.317-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectที่อยู่อาศัยen
dc.subjectการสร้างบ้านen
dc.subjectการพัฒนาชุมชนen
dc.subjectการสร้างบ้าน -- เทคโนโลยีที่เหมาะสมen
dc.subjectเทคโนโลยีการก่อสร้างบ้านด้วยตนเองen
dc.subjectโครงการบ้านบางส่วนen
dc.titleการก่อสร้างที่อยู่อาศัยของผู้ที่ย้ายจากชุมชนใต้สะพานen
dc.title.alternativeConstruction of shelters in three communities relocated from underbridge slumsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorcnitaya@hotmail.com, Chawalit.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorTrirat.J@Chula.ac.th, trirat13@gmail.com  -
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.317-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kornthip.pdf13.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.