Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/980
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ศิรินทร์พร ศรีใส, 2519- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-22T07:33:20Z | - |
dc.date.available | 2006-07-22T07:33:20Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741733534 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/980 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | จินตทัศน์ในกระบวนการสื่อสารการแสดงของคณะละครเวทีสมัยใหม่ เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างและการดำเนินงาน รวมถึงลักษณะของงานสื่อสารการแสดงของคณะละครเวทีสมัยใหม่ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงทัศนะของผู้สร้างสรรค์งานและการดำรงอยู่ของคณะละครเวทีในปัจจุบัน รวมถึงแสดงให้เห็นถึงลักษณะของงานที่สร้างสรรค์โดยคณะละคร ซึ่งผู้วิจัยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้อำนวยการ หรือตัวแทนของคณะละครจำนวน 25 คณะ และรวบรวมผลงานในรูปบทละคร วิดีทัศน์บันทึกภาพการแสดง สื่อประชาสัมพันธ์ บทความที่เกี่ยวข้องกับงานละครของกลุ่มตัวอย่าง รวมถึงเข้าชมการแสดงสดด้วยตัวเอง รวมทั้งสิ้น 144 เรื่อง ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานของคณะละครที่มีอยู่ในปัจจุบันสามารถจำแนกได้เป็น คณะละครถาวร และคณะละครเฉพาะกิจ ซึ่งปริมาณคณะละครที่มีมากกว่า คือคณะละครเฉพาะกิจ โดยเฉพาะที่มีอายุไม่เกิน 10 ปี โดยที่จำนวนสมาชิกของคณะละครจะมีตั้งแต่ 1-11 คนเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้จบการศึกษาด้านการละครมาโดยตรง แต่มีประสบการณ์ทางสุนทรียะผ่านกิจกรรมในมหาวิทยาลัย หรือการร่วมงานกับคณะละครอื่นๆ โครงสร้างในการดำเนินงานเมื่อแบ่งตามลักษณะงานจะแบ่งได้เป็นฝ่ายบริหารและฝ่ายผลิตแต่เมื่อ ปฎิบัติงานจริงมักไม่ได้มีการแยกกันอย่างชัดเจน และมักจะพบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในฝ่ายบริหาร ทำให้การวางแผนในส่วนการจัดการมีอุปสรรค ในส่วนของลักษณะของคณะละครนั้นสามารถแบ่งประเภทของแนวคิดในการทำละครได้เป็น 5 กลุ่มได้แก่ ละครเพื่อการละคร ละครเพื่อศิลปะการแสดง ละครเพื่อความบันเทิงใจ ละครเพื่อการพัฒนา และละครเพื่อสังคมและการเมือง ละครเพื่อการพัฒนามีกลุ่มผู้ชมเป้าหมายที่ชัดเจนคือเด็ก และเยาวชน ละครประเภทอื่นๆ ไม่ได้มีการกำหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมายไว้อย่างชัดเจน คณะละครทุกประเภทล้วนมีความพยายามที่จะขยายฐานผู้ชมให้กว้างขวางขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the infrastructure, work process and the communication characteristic of modern Thai theatre in order to reflect the viewpoint of the play maker and the existence of modern Thai theatre at the present. The research also demonstrates the characteristic of the works created by the theatre. The interviews with 25 directors and representatives of the theatrical groups were conducted, and totally 144 pieces of work, including scripts, videos, PR ads., related articles, and researcher also watches the plays were collected. The research found that the management of the theatrical group at the present can be divided into permanent theatrical group and temporary theatrical group. The most existing groups are the groups that are not exceeding than 10 years. The groups mostly contain 1 to11 members. Most of the members do not have direct experience by education but they have aesthetic experience in the university or participate in other theatrical groups. The work infrastructure can be categorized into management team and production team. However, there is no obvious separation when play is performed. The problem of insufficient administrative staff were mostly found and this affected the management plan. The philosophy of the theatre can be divided into 5 groups; Play for Theatre, Play for Arts Performance, Play for Pleasure, Play for Development, and Play for Society and Politics. Play for Development purpose has its clearly target groups which are children and youth, while the other groups of play has no specific target. All types of modern theatres put their efforts to extend the audience base. | en |
dc.format.extent | 4441579 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.478 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสื่อสาร | en |
dc.subject | การแสดง | en |
dc.subject | ละครเวที | en |
dc.subject | จินตทัศน์ | en |
dc.title | จินตทัศน์ในกระบวนการสื่อสารการแสดงของคณะละครเวทีสมัยใหม่ | en |
dc.title.alternative | Imaginary concept in performing arts communication of modern Thai theatre | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วาทวิทยา | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.478 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sirinporn.pdf | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.