Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9837
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกียรติ จิวะกุล | - |
dc.contributor.author | วรรณี โรจน์วรรณสินธุ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | ชลบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-08T07:19:08Z | - |
dc.date.available | 2009-08-08T07:19:08Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746374281 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9837 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาการกระจายตัว ประเภทและรูปแบบของที่อยู่อาศัย ศึกษาความสัมพันธ์เชิงที่ตั้งระหว่างที่อยู่อาศัยกับแหล่งงาน ในด้านโครงข่ายคมนาคมและขนส่ง การบริการขนส่งสาธารณะ ปัญหาและอุปสรรคในการเดินทางระหว่างที่พักอาศัย-แหล่งงาน ศึกษาปัจจัยในการเลือกที่อยู่อาศัย ปัญหาในที่อยู่อาศัย ศึกษานโยบายและบทบาทของภาครัฐ-เอกชนที่มีต่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย และวิสัยทัศน์การ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย เสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยของแรงงานในอนาคต โดยวิเคราะห์บริเวณที่เหมาะสมสำหรับพัฒนาเป็นย่านที่พักอาศัย ของแรงงานในอนาคต การปรับปรุงโครงข่ายคมนาคมและขนส่ง การให้บริการขนส่งสาธารณะ รูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับแรงงาน และการพัฒนาที่อยู่อาศัยให้สัมพันธ์กับการพัฒนาเมือง ผลการศึกษาพบว่าแรงงานในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ ต้องจัดหาที่พักอาศัยเอง ทางผู้ประกอบการมักให้สวัสดิการในด้านพาหนะรับ-ส่งแรงงาน ระหว่างโรงงาน-ที่พักอาศัยและเงินค่าเช่าบ้าน ปัญหาที่อยู่อาศัย คือ แรงงานต้องเช่าที่พัก อาศัยราคาถูก สภาพไม่ดีนัก ที่อยู่อาศัยบางแห่งอยู่ห่างไกลจากโรงงาน การเดินทางเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ จากการคาดการณ์ความต้องการที่อยู่อาศัยของแรงงาน พบว่า ในปี พ.ศ.2548 แรงงานในพื้นที่ศึกษามีความต้องการที่อยู่อาศัยประมาณ 47,000 หน่วย แรงงานในเขตอำเภอบางปะกงต้องการที่พักอาศัยมากที่สุด เพื่อแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยของแรงงาน จึงนำไปสู่แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัย เพื่อรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรมในอนาคต จากการวิเคราะห์พื้นที่ที่เหมาะสม สำหรับพัฒนาเป็นย่านพักอาศัยของแรงงาน พบว่า อยู่ในบริเวณที่เข้าถึงได้จากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 ถนนจรัณยานนท์ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 314 บริเวณตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมืองชลบุรี บริเวณเทศบาลเมืองชลบุรี-สุขาภิบาลบ้านสวน-สุขาภิบาลบางทราย บริเวณเทศบาลตำบลแสนสุข-สุขาภิบาลอ่างศิลา บริเวณสุขาภิบาลบางพระ บริเวณเทศบาลเมืองศรีราชา-เทศบาลตำบลแหลมฉบัง บริเวณใกล้นิคมอุตสาหกรรมชลบุรี (บ่อวิน) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงโครงข่ายคมนาคมและขนส่งทางรถยนต์ การปรับปรุงการเดินทางโดยรถไฟให้มีบทบาทในการเดินทางของแรงงาน ไปสู่แหล่งงาน ที่พักและย่านบริการ ให้มีสถานีจอดรถเพิ่มขึ้น ปรับปรุงบริการขนส่งมวลชนสาธารณะให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เสนอแนะที่ตั้งศูนย์บริการชุมชนโดยยกฐานะสุขาภิบาลบางวัว และสุขาภิบาลคลองตำหรุให้เป็นศูนย์บริการชุมชนระดับอำเภอขนาดใหญ่ และให้ชุมชนบ่อวินเป็นศูนย์บริการชุมชนชนบทแห่งใหม่ รูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับแรงงานในอนาคต จะมีลักษณะเป็นอาคารสูงไม่เกิน 5 ชั้นในรูปของ แฟลตอพาร์ทเม้นท์ ให้พัฒนาที่อยู่อาศัยแห่งใหม่ให้สอดคล้องกับการพัฒนาเมือง โดยให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยให้มีพื้นที่กันชน (Buffer Zone)ระหว่างย่านที่พักอาศัยกับกลุ่มโรงงาน เพื่อเป็นหลักประกันด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและความเป็นระเบียบของย่านที่อยู่อาศัยของแรงงาน | en |
dc.description.abstractalternative | To study about 1) housing distribution, types and forms 2) spatial relation between housing areas and working places under aspect of transportation network and public transport including its problems and constraints. 3) Factors relating to decision making on housing selection. 4) Housing problems and policies, as well as roles of the government and private sectors towards housing development and resolution on housing deficiency. 5) Future guidelines on housing for industrial workers, basing on suitability analysis, improvement of transportation networks and public transport, proper types of housing for industrial workers to contribute to the urban development. The result shows that most industrial workers in the study area want to choose houses by themselves. On the other hand, factory owners usually pay for housing and also provide bus services between factory and housing areas. Housing problems are low condition of living due to a paid of rent. Some houses located far from factories ; consequently, relate to occurance of accident during travel to work. In forecasting of housing demands, it is found that in the year 2005 the demand in the study area is about 47,000 units, of which Amphoe Bang Pakong shares the largest. To set guidelines on housing development for serving industrial workers in the future, suitability analysis is conducted to find out suitable locations for housing development. It is found that those locations cover locations close to national highway number 34 and number 314, Jaranyanontha road, parts of Tambol Klong Tam Hru, Amphoe Muang Chon Buri, areas in Muang Chon Buri Municipality, San Suk, Muang Si Racha, Laem Cha Bang Municipalities, areas in sanitary districts of Ban Suan, Bang Sai, Ang Sila, Bang Pra and areas locate near Chon Buri industrial estate (Boa win). Further recommendations are as following; the sanitary districts of Bang Wua and Klong Tam Hru should be upgraded their central services at large amphoe level, whereas Boa Win should be promoted as a new rural service center. Transportation network and public transport should be improved and more efficient. Moreover, railway can play a significant role of service in transporting workers between working places and houses including service centers. Future housing might develop in high-rise building such as a five-storey walk-up apartment or flat. The development of new housing location should contribute to urban development. An adequate buffer green area between housing and industrial areas is suggested for safety and amenity. | en |
dc.format.extent | 915183 bytes | - |
dc.format.extent | 832296 bytes | - |
dc.format.extent | 1057412 bytes | - |
dc.format.extent | 3198337 bytes | - |
dc.format.extent | 2558538 bytes | - |
dc.format.extent | 1896498 bytes | - |
dc.format.extent | 739700 bytes | - |
dc.format.extent | 2214342 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ที่อยู่อาศัย -- ไทย -- ชลบุรี | en |
dc.subject | แรงงาน -- ไทย -- ชลบุรี | en |
dc.subject | อุตสาหกรรม -- สถานที่ตั้ง -- ไทย -- ชลบุรี | en |
dc.subject | การเกิดเป็นเมือง -- ไทย -- ชลบุรี | en |
dc.subject | การพัฒนาเมือง -- ไทย -- ชลบุรี | en |
dc.title | แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรม ในย่านอุตสาหกรรมเขตพื้นที่ อำเภอศรีราชา-อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี และอำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ในบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก | en |
dc.title.alternative | The Housing development guidelines for industrial workers in the industrial areas of Si Racha-Muang Chon Buri and Bang Pakong districts in the Eastern Seaboard Area | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การวางแผนภาค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vannee_Ro_front.pdf | 893.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_ch1.pdf | 812.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_ch2.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_ch3.pdf | 3.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_ch4.pdf | 2.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_ch5.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_ch6.pdf | 722.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vannee_Ro_back.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.