Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร-
dc.contributor.authorศิริพรรณ ภูมิบรรเจิด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-13T03:32:01Z-
dc.date.available2009-08-13T03:32:01Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741704917-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9999-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาการจัด การทางการพยาบาลเป็นรายบุคคลและเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพระหว่างกลุ่มที่ทำงานแบบทีมชี้นำตนเองกับ กลุ่มที่ทำงานแบบทีมปกติ แบบแผนการทดลอง คือ แบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน จำนวน 22 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 11 คน และกลุ่มควบคุม 11 คน กลุ่มทดลองใช้การทำงานแบบทีมชี้นำตนเอง ส่วนกลุ่มควบคุมใช้การทำงาน แบบทีมตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย คู่มือการทำงานแบบทีมชี้นำตนเองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและ ผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และ แบบสอบ เอ็ม อี คิว วัดความสามารถในการแก้ปัญหาการจัดการทางการพยาบาลเป็นรายบุคคลและเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าความเที่ยงของแบบสอบ เอ็ม อี คิว เท่ากับ 0.56 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบน ควอไทล์ ทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติ Wilcoxon matched-pairs signed- rank test และ Mann- Whitney U-Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาการจัดการทางการพยาบาลเป็นรายบุคคลของพยาบาลวิชาชีพใน กลุ่มทดลองหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาการจัดการทางการพยาบาลเป็นรายบุคคลของพยาบาลวิชาชีพใน กลุ่มทดลองหลังการทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ความสามารถในการแก้ปัญหาการจัดการทางการพยาบาลเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มทดลองหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองคิดเป็นร้อยละ 39.29 4. ความสามารถในการแก้ปัญหาการจัดการทางการพยาบาลเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มทดลองหลังการทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุมคิดเป็นร้อยละ 28.57en
dc.description.abstractalternativeCompares managerial nursing problem solving ability aspects of an individual and team between the experimental group which working on self-directed team method and the control group which working on conventional team method. Two groups pretest posttest design was used. The sample in each group consisted of 11 professional nurses. All research instruments were developed by the researcher and tested for content validity by panel of experts. These were a self-directed team manual, modified essay question which was designed to measure the ability to solve managerial problem in nursing. The reliability of this modified essay question was 0.56. Statistical methods used in data analysis were median, quartile deviation, Wilcoxon matched-pairs signed-rank test and Mann- Whitney U-Test. The research findings were as follows: 1. The nursing managerial problem solving ability of professional nurses aspect of an individual after experiment was significantly higher than before experiment (P<.01). 2. The nursing managerial problem solving ability of professional nurses aspect of an individual in experimental group after experiment was significantly higher than control group (P<.01). 3. The nursing managerial problem solving ability of professional nurses aspect of team after experiment was higher than before experiment, accounted for 39.29 percentage. 4. The nursing managerial problem solving ability of professional nurses aspect of team in experimental group after experiment was higher than control group, accounted for 28.57 percentage.en
dc.format.extent1301739 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำงานแบบทีมชี้นำตนเองen
dc.subjectการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มen
dc.subjectการพยาบาลเป็นทีมen
dc.subjectบริการการพยาบาล -- การบริหารen
dc.titleผลของการทำงานแบบทีมชี้นำตนเองต่อความสามารถในการแก้ปัญหาการจัดการทางการพยาบาลเป็นรายบุคคลและเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียนen
dc.title.alternativeEffects of self-directed team on individual and team ability to solve managerial problem in nursing of professional nurses, Bangkokchristian Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriphan.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.