dc.contributor.author |
สุพัฒน์ สุกมลสันต์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.date.accessioned |
2006-07-14T01:00:02Z |
|
dc.date.available |
2006-07-14T01:00:02Z |
|
dc.date.issued |
2536 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/776 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการ คือ เพื่อจัดสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาได้ และเพื่อศึกษาคุณภาพและประสิทธิภาพของการทดสอบดังกล่าว กลุ่มพลวิจัย ได้แก่นิสิตชั้นปีที่ 1 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาาลัย ทีกำลังเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน II ปี 2533 จำนวน 360 คน จาก 2,404 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายแล้วแบ่งเป็น 2 กลุ่มเท่ากัน กลุ่มละ 180 คน ให้กลุ่มที่ 1 สอบแบบทดสอบอิงปริเขตซึ่งมีอยู่ 105 ข้อ โดยวิธีประเพณีนิยม อและอีกกลุ่มหนึ่งทดสอบโดยวิธีปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาโดยใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหา 5 ปริเขต ๆ ละ 21 ข้อ และสร้างเป็นแบบปิรามิด 5 ชั้น แล้วจึงนำผลการทดสอบหลาย ๆด้านมาเปรียบเทียบกัน โดย z-test และ t-test ผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมที่จัดสร้างขึ้นทำงานได้ดีเป็นที่น่าพอใจ และการทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหามีคุณภาพและประสิทธิภาพดีกว่าการทดสอบโดยวิธีประเพณีนิยม กล่าวคือ มีความตรงเชิงพยากรณ์สูงกว่า มีความเชื่อถือได้ไม่ต่างกัน ใช้ข้อทดสอบน้อยกว่าร้อยละ 50 มีความคลาดเคลื่อนในการวัดน้อยกว่า ใช้เวลาในการทดสอบน้อยกว่าประมาณ 3 เท่า และทำให้ผู้สอบมีเจตคติในการสอบดีกว่า |
en |
dc.description.abstractalternative |
The two main puproses of this study were to study a computer program for content-based adaptive testing of a domain-referenced test and to evaluate its quality and efficiency. Of 2,404 first-year students studying Foundation English II at Chulalongkorn University in 1992, 360 were randomly selected and used as subjects. They were divided into 2 groups of 180. The first group was assigned to take a 105-item domain-referenced test by means of a conventional testing procedure and the other by computerized content-based testing. The test for the second procedure was a 5-domain pyramidal adaptive test. Each domain consisted of 21 items which were arranged into 5 steps. The results of the tests were compared in various aspects by using z-tests and t-tests. It was found that the written program worked satisfactorily and the computerized content-based adaptive test was of higher quality and more efficient than the conventional test. The former had higher predictive validity and equal dependability, required 50% less test items and had less measurement error. It also required less testing time, approximately three times less than the latter. Furthermore, it gave the testees a more positive attitude towards testing. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2535 |
en |
dc.format.extent |
18172952 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ความเที่ยง |
en |
dc.subject |
การทดสอบปรับเปลี่ยน |
en |
dc.subject |
การวัดผลทางการศึกษา |
en |
dc.subject |
ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ |
en |
dc.subject |
แบบทดสอบอิงปริเขต |
en |
dc.subject |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
en |
dc.subject |
การทดสอบแบบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหา |
en |
dc.title |
คุณภาพและประสิทธิภาพของการทดสอบปรับเปลี่ยนโยงเนื้อหาโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของแบบทดสอบอิงปริเขต : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Quality and efficiency of computerized content-based adaptive testing of a domain-referenced test |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |