dc.contributor.advisor |
Ruedeerath Chusanachoti |
|
dc.contributor.author |
Koravick Thiangtham |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Education |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-05T09:54:14Z |
|
dc.date.available |
2024-02-05T09:54:14Z |
|
dc.date.issued |
2023 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84142 |
|
dc.description |
Thesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2023 |
|
dc.description.abstract |
The purposes of this mixed-method study were to 1) investigate the level of WTC among undergraduate students in Thailand, and 2) investigate the relationship of English language online classroom environment and WTC among undergraduate students in Thailand. Following the sequential explanatory design, the study was divided into 2 phases 1) the quantitative phase which participants are 406 undergraduate students from universities in Bangkok area. The survey questionnaire which consisted of WTC section and English language online classroom environment section is deployed. 2) the qualitative phase, which the participants consisted of seven undergraduate students who were purposively selected from the WTC mean score. The semi-structured interview was conducted with the participant. The quantitative data were analyzed for descriptive statistics (frequencies and mean scores), and inferential statistics (correlation) using statistic software. The qualitative data were analyzed using the content analysis method.
The study revealed the following results: (1) Thai undergraduate students are willing to communicate in English at a moderately high level (3.11/4.00), (2) Statistically significant relationship (p |
|
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์ของการวิจัยแบบผสมผสานนี้คือ 1) สำรวจระดับความเต็มใจที่จะสื่อสารภาษาอังกฤษ (WTC) ในนักศึกษาปริญญาตรีไทย และ 2) สำรวจความสัมพันธ์ของของสภาพแวดล้อมห้องเรียนออนไลน์ทางภาษาอังกฤษกับระดับความเต็มใจที่จะสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาปริญญาตรีไทย ด้วยการใช้การวิจัยแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย การศึกษาถูกแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่: 1) ระยะของการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรีจากสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครจำนวน 402 คน โดยใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่ ส่วน WTC และส่วนสภาพแวดล้อมห้องเรียนออนไลน์ทางภาษาอังกฤษ และ 2) ระยะของการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรีจากสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครจำนวน 7 คน ที่ถูกเลือกโดยตั้งใจจากผลลัพธ์ของการตอบคำถามในแบบสอบถามจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง ข้อมูลเชิงปริมาณถูกวิเคราะห์เพื่อสถิติบรรยาย (ความถี่และค่าเฉลี่ย) และสถิติอุปทาน (สหสัมพันธ์) โดยใช้ซอฟต์แวร์สถิติ ข้อมูลคุณภาพถูกวิเคราะห์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักศึกษาปริญญาตรีไทยมีความเต็มใจที่จะสื่อสารภาษาอังกฤษในสภาพแวดล้อมห้องเรียนออนไลน์ในระดับค่อนข้างสูง (3.11 /4.00) 2) พบความสัมพันธ์ที่มีนัยยะทางสถิติ (p |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.subject.classification |
Education |
|
dc.subject.classification |
Education science |
|
dc.title |
Willingness to communicate in English of Thai undergraduate students in online English classrooms |
|
dc.title.alternative |
ความเต็มใจที่จะสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในห้องเรียนภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Education |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Teaching English as a Foreign Language |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|