Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุรณี กาญจนถวัลย์-
dc.contributor.authorอัมภัสชา พานิชชอบ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-08-13T09:34:59Z-
dc.date.available2009-08-13T09:34:59Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749511-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10031-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional descriptive study) มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแคและสถานที่พักผู้สูงอายุเอกชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 398 คน เป็นผู้สูงอายุที่อยู่ในบ้านบางแคจำนวน 203 คน และผู้สูงอายุในที่พักผู้สูงอายุเอกชน 195 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จากสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแคและสถานที่พักผู้สูงอายุเอกชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป พักอาศัยมาอย่างน้อย 6 เดือน และมีวิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2. แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา (CMT: Chula Mental Test) 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Chi-square test, Unpaired t-test และ One-way ANOVA วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแคและสถานที่พักผู้สูงอายุเอกชนส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ร้อยละ 48.8 และร้อยละ 73.8 ตามลำดับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ได้แก่ เพศชาย, อายุต่ำกว่า 70 ปี, การศึกษาระดับอนุปริญญาขึ้นไป, ประกอบอาชีพข้าราชการ, ก่อนเข้าพักดำรงชีวิตอยู่กับคู่สมรส, พักอาศัยในบ้านพักของตนเอง, เข้ากันได้ดีกับสมาชิกในครอบครัว, ก่อนเข้าพักคู่สมรสดูแลอย่างใกล้ชิด, ปัจจุบันไม่ได้ใช้สารเสพติด, สุขภาพแข็งแรง และตัดสินใจเข้าพักเอง พบว่ามีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับดี ส่วนสถานภาพสมรส และเหตุผลในการเข้าพักนั้น พบว่าลักษณะที่แตกต่างกันไม่ทำให้คุณภาพชีวิตต่างกัน จากการศึกษาเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม พบว่า คุณภาพชีวิตด้านสภาพเศรษฐกิจ, สุขภาพ, สภาพแวดล้อม, การพึ่งพาตนเอง และคุณภาพชีวิตด้านรวมของผู้สูงอายุที่พักในสถานที่พักผู้สูงอายุเอกชนดีกว่าผู้สูงอายุที่พักในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค ส่วนด้านกิจกรรม พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน และจากการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าความพึงพอใจในด้านกิจกรรม และความพึงพอใจด้านสัมพันธภาพทางสังคม มีความสัมพันธ์กับคะแนนคุณภาพชีวิต ส่วนความพึงพอใจในลักษณะการบริการนั้นไม่มีความสัมพันธ์กับคะแนนคุณภาพชีวิตen
dc.description.abstractalternativeThis is cross-sectional descriptive study to study the quality of life and associated factors and include compare quality of life of the elderly in Bangkae home and private homes for the aged in Bangkok and boundaries. Sample sizes were 398 elderly people (203 Bangkae home and 195 private home), the age 60 and over were attended in this study and live in home more than 6 months in Bangkae home and private homes in Bangkok and boundaries. Sample were collected by multistage sampling. The questionnaires for this study consisted of 1. Personal data 2. Chula Mental Test (CMT) 3. Quality of life questionnaires. All informations collected by individual interviews. Mean, percentage, standard deviation, chi-square test, unpaired t-test and one-way ANOVA was used with SPSS/PC to analyze the data. The result of this study showed that most elderly in Bangkae home and private homes had a high level of quality of life 48.8% and 73.8% by order. The associated factors related to quality of life in elderly were male, age less than 70, academic level, previous government official, previous living with spouse, previous living in own house, good family relationship, previous spouse take care, now use not drug, healthy and decided by himself were high quality of life but, marital status and reason of living in home for the age were not different quality of life. Quality of life in elderly comparison in both homes for the age were economy, healthy, environment, depend on himself and total quality of life of the elderly in private homes better than Bangkae homes but, activity was not different. The relation between personal factors showed that satisfaction in activity and relationship were related to quality of life but, satisfaction in services was not related to quality of life.en
dc.format.extent1359804 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแคen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การสงเคราะห์en
dc.subjectคุณภาพชีวิตen
dc.subjectสถานสงเคราะห์คนชรา -- ไทยen
dc.titleการศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแคและสถานที่พักผู้สูงอายุเอกชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen
dc.title.alternativeA study of quality of life of the elderly in Bangkae home and private homes for the aged in Bangkok and boundariesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBuranee.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Umphatcha.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.