Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพัตรา จินาวัฒน์-
dc.contributor.authorนารถพล บัวอำไพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-14T04:08:37Z-
dc.date.available2009-08-14T04:08:37Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740305679-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10080-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการสังเคราะห์แอนไฮไดรต์จากยิปซัมฟลูแก๊ส ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้ง (waste product) จากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ก่อนการสังเคราะห์ ยิปซัมฟลูแก๊สถูกทำให้มีความบริสุทธิ์สูงขึ้นโดยการล้างด้วยไฮโดรไซโคลน ตามด้วยการชะด้วยกรดและตกตะกอน นำยิปซัมที่ผ่านการล้างแล้วไปสังเคราะห์เป็นแอนไฮไดรต์โดยกระบวนการ Semidry Acid-Anhydrite พบว่าภาวะการสังเคราะห์ที่ดีที่สุด คือ เผาแคลไซน์ (calcine) ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นาน 5 ชั่วโมง โดยใช้ยิปซัมฟลูแก๊ส (แห้ง) 200 กรัม : น้ำกลั่น 100 มิลลิลิตร : กรดซัลฟูริกเข้มข้น 3 โมลาร์ 100 มิลลิลิตร แอนไฮไดรต์ที่ได้ต้องผ่านการล้างด้วยน้ำกลั่นก่อนทำเป็นกลาง เพื่อกำจัดสารประกอบของเหล็ก ซึ่งส่งผลกระทบต่อสีของแอนไฮไดรต์ และลดปริมาณแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้ทำเป็นกลางได้ 8 เท่า หลังทำเป็นกลางแอนไฮไดรต์มีลักษณะผลึกเป็นแท่ง (prismatic) ขนาดเล็ก มีขนาดเฉลี่ย 2 ไมโครเมตร มีความบริสุทธิ์สูง (แอนไฮไดรต์สอง 97 เปอร์เซ็นต์) และมีค่าความขาวสว่าง (brightness) 80 เปอร์เซ็นต์ ในกระบวนการทำกระดาษ การเติมแอนไฮโดรต์ในกระดาษ (50 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักเยื่อแห้ง) จะทำให้ความทึบแสงของกระดาษเพิ่มขึ้น การบดเยื่อที่ 6000 รอบ จะทำให้สมบัติเชิงกลต่างๆ เช่น ความทนแรงดึง ความทนแรงฉีกขาด ความทนแรงดันทะลุของกระดาษดีที่สุด นอกจากนั้นยังทำการศึกษาผลของการเติมตัวเติมแอนไฮโดรต์ในพลาสติกชนิด LLDPE และ HDPE อีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeAnhydrite was synthesized from Flue-gas gypsum (FGD gypsum), a waste product from the Mae Moh Power Plant. FGD gypsum was precleaned by a hydrocyclone classifier, acid leaching and sedimentation, respectively. After that, the precleaned FGD gypsum was transformed to anhydrite by Semidry Acid-Anhydrite method. It was found that the optimal condition for synthesis was to calcine at 100 ํC for 5 hours using the ratio of dried FGD gypsum : distilled water : 3 M sulphuric acid equal to 200 g : 100 ml : 100 ml, respectively. Before neutralization, the obtained anhydrite was washed with distilled water to get rid of iron compounds, which would affect its color. Consequently this also reduced the content of CaCO3 neutralizer to about 8 times. After neutralization, anhydrite consisted of small prismatic crystals having an average size of 2 micro m high purity (all 97%), and high brightness (80%). In the paper processing, addition of anhydrite (50% of oven dry pulp weight) increased opacity of paper. At the optimal condition of refining pulp, 6,000 rev, mechanical properties such as tensile strength, tear strength and burst strength were maximum. Furthermore the effect of adding anhydrite to polyethylene plastics, LLDPE and HDPE was also investigated.en
dc.format.extent1839128 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectยิปซัมen
dc.titleการผลิตตัวเติมแอนไฮไดรต์จากยิปซัมฟลูแก๊สen
dc.title.alternativeProduction of filler anhydrite from flue-gas gypsumen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเซรามิกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupatra.J@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
natapoll.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.