Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมร เพชรสม-
dc.contributor.authorพนิดา ปรารัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-14T11:36:35Z-
dc.date.available2009-08-14T11:36:35Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741737157-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10108-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractได้นำกระบวนการเพอร์แวปพอเรชันมาใช้ในการแยกอะชิโตไนไทรล์ออกจากสารละลายเจือจางโดยใช้เยื่อแผ่นพอลิเตตระฟลูออโรเอธีลีน ทำการทดลองที่ความเข้มข้นของสารป้อนในช่วงร้อยละ 5-20 โดยปริมาตร ความดันด้านเพอมิเอทในช่วง 10-40 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิของสารป้อนในช่วง 25-50 องศาเซลเซียส และอัตราการไหลของสารป้อนในช่วง 6-20 มิลลิลิตรต่อนาที และหาความเข้มข้นของอะชิโตไนไทรล์ในเพอมิเอทและสารป้อนโดยใช้เทคนิคแก๊สโครมาโตกราฟี จากผลการทดลองพบว่า เมื่อเพิ่มความเข้มข้นและอุณหภูมิของสารป้อน จะทำให้ค่าฟลักซ์ของสารอินทรีย์เพิ่มขึ้นขณะที่ค่าฟลักซ์ของน้ำลดลง ส่วนการลดความดันด้านเพอมิเอทและการเพิ่มอัตราการไหลของสารป้อนจะทำให้ค่าฟลักซ์ของสารอินทรีย์และค่าฟลักซ์ของน้ำเพิ่มขึ้น สำหรับค่าการเลือกผ่านนั้น เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารป้อนจะทำให้ค่าการเลือกผ่านลดลง แต่การเพิ่มอุณหภูมิและอัตราการไหลของสารป้อนหรือการลดความดันด้านเพอมิเอทจะทำให้ค่าการเลือกผ่านเพิ่มขึ้น สภาวะที่เหมาะสมในการแยกอะซิโตไนไทรล์ออกจากสารละลายเจือจางด้วยกระบวนการเพอร์แวปพอเรชัน คือ ที่ระดับความเข้มข้นของสารป้อนที่ร้อยละ 5 โดยปริมาตร ความดันด้านเพอมิเอท 10 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิของสารป้อน 40 องศาเซลเซียส และอัตราการไหลของสารป้อน 20 มิลลิลิตรต่อนาที สำหรับการเปรียบเทียบสมรรถนะของกระบวนการเพอร์แวปพอเรชันในการแยกอะชิโตไนไทรล์ออกจากของผสมน้ำ-อะชิโตไนไทรล์และน้ำเสียจากเครื่อง HPLC พบว่า สมรรถนะในการแยกอะชิโตไนไทรล์ออกจากตัวอย่างน้ำทั้งสองชนิดไม่แตกต่างกัน และมีประสิทธิภาพในการบำบัดและการคืนกลับเท่ากับร้อยละ 33.46 และ 33.60 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativePervaporation process was examined as a possible technique for separation of acetonitrile from diluted solution by using polytetrafluoro ethylene membrane. The experiments were performed using the feed concentration (5 to 20 vol%), permeate pressure (10 to 40 mmHg), feed temperature (25 to 50 ํC) and feed flow rate (6 to 20 ml/min). The concentration of acetonitrile in the permeate and feed solution were determined by gas chromatography. The results showed that organic flux increased, while water flux decreased with increasing the feed concentration and feed temperature. The organic and water fluxes increased with increasing feed flow rate but increased with decreasing permeate pressure. For the selection factor, it increased with increasing feed temperature, feed flow rate and decreasing permeate pressure but decreased with increasing feed concentration. The optimum conditions of pervaporation process for separation of acetonitrile from diluted solution were obtained at the feed concentration of 5 vol%, permeate pressure of 10 mmHg, feed temperature of 40 ํC and feed flow rate of 20 ml/min. The comparison of pervaporation process performance indicated that the separation of acetonitrile from HPLC wastewater did not differ from acetonitrile-water mixtures. In addition, wastewater treatment and recovery efficiency were 33.46% and 33.60%, respectively.en
dc.format.extent1075763 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอะซิโตไนไทรล์en
dc.subjectโพลิเทฟen
dc.subjectเพอร์เวเพอเรชันen
dc.titleการแยกอะซิโตไนไทรล์ออกจากสารละลายเจือจางโดยกระบวนการเพอร์แวปพอเรชันen
dc.title.alternativeSeparation of acetonitrile from diluted solution by pervaporation processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAmorn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panida.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.