Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10131
Title: การใช้รูปแบบอินเทอร์เนชั่นแนลไทโปกราฟฟิก เพื่อการออกแบบเอกลักษณ์องค์กร
Other Titles: The use of "the international typographic style (swiss style)" for corporate identity design
Authors: เยาวเรศ รัตนอักษรศิลป์
Advisors: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Araya.S@Chula.ac.th
Subjects: การออกแบบกราฟิก
การจัดตัวอักษร
ภาพลักษณ์องค์การ
ตราสัญลักษณ์
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาคุณลักษณะของรูปแบบอินเทอร์เนชั่นแนลไทโปกราฟฟิก ในประวัติศาสตร์เรขศิลป์ และศึกษาการใช้องค์ประกอบกับหลักการในการออกแบบเอกลักษณ์องค์กร จากรูปแบบดังกล่าว โดยการสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญการออกแบบเรขศิลป์ การออกแบบเอกลักษณ์องค์กรในประเทศไทยจำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้รูปแบบอินเทอร์เนชั่นแนลไทโปกราฟฟิก เพื่อการออกแบบเอกลักษณ์องค์กร แบ่งได้เป็นการศึกษาหลักการสำคัญในการออกแบบ องค์ประกอบที่เกี่ยวกับสี ฟอร์มและอิทธิพลของประเภทตราสัญลักษณ์ที่ใช้ในการออกแบบ 2) การใช้รูปแบบอินเทอร์เนชั่นแนลไทโปกราฟฟิก เพื่อการออกแบบเอกลักษณ์องค์กรมีความเหมาะสมโดยเฉพาะสำหรับองค์กร ซึ่งวางแนวคิดหลักในการออกแบบให้ประยุกต์ใช้ได้กับหลักการออกแบบที่คำนึงถึง (1) สัดส่วนเพื่อการเน้นและความโดดเด่น (2) องค์ประกอบซึ่งเป็นฟอร์มเรขาคณิตและการใช้สีดำ (3) ตราสัญลักษณ์ประเภทโลโก้ การใช้ตัวอักษรเพียงอย่างเดียวในการออกแบบ
Other Abstract: To study the qualities of the international typographic style (swiss style) from a history of graphic design ; and to determine the elements and principles toward the use of the swiss style for corporate identity design. Questionnaires were used to collect data from a group of Thai scholarly, professional graphic and corporate identity designers. The result of the study were as folwer (1) There were three parts for graphic designers and corporate identity designers to determine the use of the style; Principles (2) Elements : form ane color (3) Influence and type toward a trademark. 2) There were the significant in collaboration with creative are and brief (1) Principles : Proportion to dominance and emphasits, (2) Elements : geometric form and black color, (3) Logotype : name-only mark and initial letter mark.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นฤมิตศิลป์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10131
ISBN: 9741734689
Type: Thesis
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yaowaret.pdf8.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.