Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.authorกมลทิพย์ เมฆวงศาโรจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-15T07:28:01Z-
dc.date.available2009-08-15T07:28:01Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740305962-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10146-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะตัวเชื่อมโยงที่มีผลต่อการเลือกการเชื่อมโยงในเว็บการศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีแบบการคิดต่างกัน โดยศึกษากับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ปีการศึกษา 2544 ที่มีประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 100 คน ซึ่งได้จากการทำแบบทดสอบ CSA ของ Richard J. Riding (1991) เพื่อตรวจสอบนักเรียนตามแบบการคิด Analytic-Imager, Analytic-Verbaliser, Wholist-Imager และ Wholist-Verbaliser จากนั้นจึงใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เลือกเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีแบบการคิด Analytic-Imager จำนวน 25 คน แบบการคิด Analytic-Verbaliser จำนวน 25 คน แบบการคิด Wholist-Imager จำนวน 25 คน และแบบการคิด Wholist-Verbaliser จำนวน 25 คน ใช้สถิติทดสอบ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลการเลือกลักษณะตัวเชื่อมโยง และเหตุผลในการเลือกลักษณะตัวเชื่อมโยง โดยแจกแจงเป็นค่าร้อยละ เปรียบเทียบแบบการคิดกับการเลือกลักษณะตัวเชื่อมโยง และแบบการคิดกับเหตุผลในการเลือกลักษณะตัวเชื่อมโยง โดยใช้ Pearson Chi-Square Test ที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างที่มีแบบการคิดต่างกันเลือกลักษณะตัวเชื่อมโยงแบบปุ่มกับภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนลักษณะตัวเชื่อมโยงอื่นๆ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีเหตุผลในการเลือกลักษณะตัวเชื่อมคือ ความพอใจ 3. กลุ่มตัวอย่างเลือกลักษณะตัวเชื่อมโยงแบบปุ่มมากที่สุด และเลือกคุณลักษณะตัวเชื่อมโยงสีเย็น ตำแหน่งล่าง ตำแหน่งซ้าย และขนาดใหญ่มากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to survey characteristics of web links upon in choosing links in educational web of upper secondary school student with different cognitive styles. The study was conducted on one hundred Mattayom 5 students (Grade 11) at Chulalongkorn University Demonstration School in 2001. The cognitive styles were labelling as "Analytic-Imager", "Analytic-Verbaliser", "Wholist-Imager", and "Wholist-Verbaliser" repectively. The cognitive style was determined by cognitive style assessment test (Ridchard J. Riding, 1991). Data were analyzed in percentage, and comparing the cognitive styles and choosing web links by Pearson Chi-Square test at 0.05 level of significance. The findings were as follows: 1. The subjects with different cognitive styles chose button and picture web links differently at .05 level of significance. Other characteristics were not found significantly difference. 2. The subjects with any cognitive styles chose web links with the reason as satisfaction. 3. Majority of the subjects chose button web link in larger size, cool tone color, at the bottom and on the right hand side of the screen.en
dc.format.extent9565779 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.586-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเว็บไซต์ -- การออกแบบen
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.titleลักษณะของตัวเชื่อมโยง ที่มีผลต่อการเลือกการเชื่อมโยงในเว็บการศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีแบบการคิดต่างกันen
dc.title.alternativeCharacteristics of links upon choosing links in educational web of upper secondary school students with different cognitive stylesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChawalert.L@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.586-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kamoltip.pdf9.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.