Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชิต ชัยเสรี-
dc.contributor.advisorพินิจ ฉายสุวรรณ-
dc.contributor.authorจุฑามาศ ปอประสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-15T08:32:56Z-
dc.date.available2009-08-15T08:32:56Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746376659-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10177-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractปี่พาทย์นางหงส์ เป็นวงดนตรีที่ใช้ประโคมในงานศพของไทยแต่โบราณ ปรับปรุงเป็นวงปี่พาทย์นางหงส์ โดยการรวมวงปี่พาทย์พิธีกับวงบัวลอย เกิดขึ้นราวสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ประมาณปลายรัชกาลที่ 3) วงปี่พาทย์นางหงส์เป็นวงดนตรีที่มีความสำคัญวงหนึ่งของไทย ผู้บรรเลงเพลงนางหงส์ได้จะต้องเป็นผู้ที่มีศักยภาพสูง การบรรเลงเพลงนางหงส์นี้ต้องยึดหลัก ความพร้อมเพรียงของวงเป็นสำคัญ เป็นเหตุให้ผู้วิจัยเลือกวงเทศบาลเป็นกรณีศึกษา เนื่องจากวงดนตรีนี้เป็นวงที่ ยังยึดรูปแบบในการบรรเลงและยังคงมีองค์ความรู้ที่สมบูรณ์ มีการนำเสนอผลงานทางการบรรเลงเด่นชัดกว่าวงดนตรีอื่นๆ ในปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาประวัติความเป็นมา ระเบียบวิธีบรรเลง ตลอดจนบริบทที่เกี่ยวข้องทั้งหมดกับวงปี่พาทย์นางหงส์ วิเคราะห์ลีลาการบรรเลงของวงเทศบาล และเหตุที่ทำให้วงปี่พาทย์นางหงส์ในปัจจุบันมีผู้บรรเลงน้อยมาก ผลการวิจัยพบประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับปี่พาทย์นางหงส์ 5 ประการคือ 1. ปี่พาทย์นางหงส์เป็นผลที่เกิดจาก การทำงานของกลุ่มนักดนตรีที่มีความพร้อม 2. การบรรเลงเพลงเรื่องนางหงส์ นักดนตรีต้องมีศักยภาพที่มีความเท่าเทียมกัน และมีปฏิภาณไหวพริบ สติปัญญาในการจดจำ เนื่องจากการบรรเลงเพลงเรื่องนางหงส์นั้น ทุกเรื่องจะมีความยาวมากตามแต่ผู้ปรับจะเป็นผู้กำหนด 3. พบว่าต้องมีผู้ปรับวงที่มีความรู้มาก จึงจะบรรเลงได้ดี เนื่องจากการบรรเลงเพลงเรื่องนางหงส์นั้นมีประเภทของเพลงจำกัด แต่มีรูปแบบของการผูกเรื่องต่างกัน ทำให้ต้องใช้ระบบของการเล่นแบบไม่ซ้ำกันเป็นการนำเสนอผลงาน 4. แนวในการบรรเลงและระดับเสียงมีความยาก ทำให้ไม่เกิดความนิยมนำมาเล่น 5. ปี่พาทย์นางหงส์ได้รับความนิยมน้อยมาก เกิดจากค่านิยมของการใช้ปี่พาทย์มอญประโคมศพในสมัยต่อมาen
dc.description.abstractalternativePipat-Nanghongs is a Thai ensemble that has been used in cremation since the ancient time. It was innovated from the combination of Pipat-Pidhee and Buaw Loy ensemble. This ensemble occured during the Ratanakosindra Period (about the end of the reign of King Rama III). Pipat-Nanghongs is one of the most important Thai ensemble. The performers must be the full potential ones. The most important concept of the performance is the unanimity of the performers. Consequently, "Wong Desbala" (The Thai Classical Ensemble of Bangkok Metropolitan Administration) is chosen as a case study. Its traditional performance, perfect acknowledgement, and many presentation which are more outstanding than the others makes the crucial point. This thesis aims at studying history, tradition and regulations of Pipat-Nanghongs, including all of its context and the reason of why it is not often used anymore. The research reveals 5 main points of Pipat-Nanghongs: 1. The unity of the effective performers. 2. The performers must have equal potentiality, wit, and good memory because of the length and number of songs which depend on the director demand. 3. There must be a professional director to conduct and arrange the limited song. So each presentation should not be imitated. 4. The difficulty of performing tempo and scale causes the rare presentation. 5. The subsidence of Pipat-Nanghongs' performance in cremation comes from Pipat-Mon's substitution.en
dc.format.extent927247 bytes-
dc.format.extent1208891 bytes-
dc.format.extent3437338 bytes-
dc.format.extent1516355 bytes-
dc.format.extent4367526 bytes-
dc.format.extent898526 bytes-
dc.format.extent1034582 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปี่พาทย์en
dc.subjectปี่พาทย์นางหงส์en
dc.subjectดนตรีไทยen
dc.titleปี่พาทย์นางหงส์ : ประวัติและระเบียบวิธีบรรเลงen
dc.title.alternativePipat-Nanghongs : history and performanceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineดุริยางค์ไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jutamas_Po_fornt.pdf905.51 kBAdobe PDFView/Open
Jutamas_Po_ch1.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Jutamas_Po_ch2.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open
Jutamas_Po_ch3.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Jutamas_Po_ch4.pdf4.27 MBAdobe PDFView/Open
Jutamas_Po_ch5.pdf877.47 kBAdobe PDFView/Open
Jutamas_Po_back.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.