Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญใจ อรุณสมิทธิ-
dc.contributor.authorคณาธิป สุขเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-08-19T08:50:31Z-
dc.date.available2009-08-19T08:50:31Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746392417-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10286-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาถึงผลกระทบที่มีต่อการค้าระหว่างประเทศไทยกับบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ในภาคเศรษฐกิจของไทย 33 สาขาการผลิต ซึ่งประกอบด้วย ภาคเกษตรไม่แปรรูป 8 สาขาการผลิต ภาคเกษตรแปรรูป 7 สาขาการผลิต ภาคอุตสาหกรรม 17 สาขาการผลิต และภาคบริการ 1 สาขาการผลิต จากการปฏิบัติตามมาตรการอัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่าเทียมกันของประเทศสมาชิกเขตการค้าเสรีอาเซียน ในการลดอัตราภาษีศุลกากรของแต่ละสาขาการผลิตเป็นร้อยละ 0 และในการศึกษาได้ใช้วิธีการคำนวณดุลยภาพทั่วไปในการคำนวณหาผลกระทบดังกล่าว เนื่องจากเป็นวิธีการที่มีการมองถึงภาพพจน์ของระบบเศรษฐกิจอย่างเจาะลึกลงไปในระดับอุตสาหกรรมของทุกส่วน และมีการจัดเครือข่ายของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ให้มีความเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบแบบแผน ส่งผลให้การติดตามผลต่อเนื่องอย่างเป็นลูกโซ่และแบบจำลองที่ใช้ คือ แบบจำลองแคมเจม ซึ่งเป็นแบบจำลองเศรษฐศาสตร์ของประเทศไทย สร้างขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย Monash, Australia ในการทำชิมิวเลชั่นเพื่อหาผลกระทบของการใช้นโยบายอาฟต้า ได้แยกแยะให้เห็นความสำคัญเปรียบเทียบของผลกระทบสองประเภท คือ ผลกระทบอันสืบเนื่องมาจากการลดภาษีศุลกากรของฝ่ายไทยซึ่งเรียกว่าผลกระทบหลัก (Primary Impact) และผลกระทบอันสืบเนื่องมาจากการลดภาษีศุลกากรของสมาชิกอาฟต้าอื่นๆ ซึ่งเรียกว่าผลกระทบรอง (Secondary Impact) นอกจากนี้ในการนำเสนอผลการศึกษาได้แยกขั้นตอนการวิเคราะห์ออกเป็น 3 ส่วนคือ ผลกระทบที่มีต่อโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศไทยและสมาชิกในกลุ่มอาฟต้า 5 ประเทศ ผลกระทบที่มีต่อลู่ทางการส่งออกของประเทศไทยไปยังประเทศคู่ค้าเหล่านี้ และผลกระทบเชิงมหภาคที่มีต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยรวม นอกจากนี้ผลกระทบในส่วนที่สองได้ถูกนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการนำเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เหมาะสมต่อการส่งเสริมการส่งออกของประเทศไทยไปยังกลุ่มสมาชิกอาฟต้าในอนาคตen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to measure and analyze the impacts of tariff reduction according to AFTA policy commitment on Thailand's trade with her 5 counterparts within ASEAN group, i.e. Brunei, Indonesia, Malaysia, Philippine and Singapore. There are 33 industries involved in the study, i.e. 8 in primary agriculture, 7 in agro-business, 17 in manufacturing and 1 in services. The methodology employed is that of general equilibrium approach whereby inter-linkage among industries can be scrutinized and inter-relationship among economic agents can be systematically integrated into the model, thus enabling ones to trace out the chained reaction following a change in some policy variables. The model used in this study is based on Camgem, a multi-sectoral model of the Thai economy built through a co-operation between the Faculty of Economic, Chulalongkorn University and Monash University of Australia. In carrying out the model's simulation to measure the impacts of AFTA policy implementation, two types of impacts are calculated and compared for their relative importances. First is the impact of tariff reduction on the Thai side which is called "Primary Impact", while the latter is the impact of tariff reduction regarding the move of other ASEAN members which is called "Secondary Impact". In the result's presentation, the study is divided into three parts, i.e. the impact on the structure of trade between Thailand and her ASEAN counterparts, the impact on export opportunities of Thailand with regard to the outflow of commodities to individual trading partners in the Asean group, and the macro impact on the Thai economy as a whole. The result in part two may be used to provide some policy recommendation for Thailand's export promotion in future.en
dc.format.extent1205904 bytes-
dc.format.extent1570747 bytes-
dc.format.extent1980042 bytes-
dc.format.extent1348176 bytes-
dc.format.extent1043048 bytes-
dc.format.extent4564064 bytes-
dc.format.extent1356839 bytes-
dc.format.extent1627956 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเขตการค้าเสรีอาเซียนen
dc.subjectกลุ่มประเทศอาเซียนen
dc.subjectการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศen
dc.subjectไทย -- ภาวะเศรษฐกิจen
dc.titleผลกระทบของการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการค้าระหว่างประเทศไทยกับ 5 ประเทศสมาชิกในกลุ่มen
dc.title.alternativeThe impacts of AFTA policy implementation on Thailand's trade with 5 ASEAN membersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanatip_Su_front.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_ch1.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_ch2.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_ch3.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_ch4.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_ch5.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_ch6.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Kanatip_Su_back.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.