Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.advisorสัญชัย นิลสุวรรณโฆษิต-
dc.contributor.authorธนัญชัย พิรุณพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-25T08:48:16Z-
dc.date.available2009-08-25T08:48:16Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741726775-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10442-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractได้ใช้โค้ดคอมพิวเตอร์ MCNP-4A คำนวณประสิทธิภาพในการวัดรังสีแกมมาที่ปลดปล่อยจากต้นกำเนิดรังสีแบบมีปริมาตรที่มีรูปร่างต่างๆ กัน ได้แก่ ทรงกลม ทรงกระบอก และกล่อง รวมทั้งที่เป็นเส้น และจุด โดยได้ทำการพัฒนาโปรแกรมเชื่อมประสานกับผู้ใช้เพื่อให้ผู้สามารถป้อนพารามิเตอร์ต่างๆ ให้กับโค้ดคอมพิวเตอร์ได้โดยง่าย เช่น ขนาด รูปร่าง และส่วนประกอบของต้นกำเนิดรังสี ขนาดของหัววัดรังสีโซเดียมไอโอไดด์ (ทัลเลียม) ระยะห่างระหว่างต้นกำเนิดรังสีกับหัววัดรังสี เป็นต้น ในขั้นแรกได้ตรวจสอบผลการคำนวณกับวิธีวิเคราะห์เมื่อต้นกำเนิดรังสีมีลักษณะแบบง่ายๆ คือ แบบจุด และแบบเส้น ซึ่งก็พบว่าได้ผลตรงกัน ในที่สุดได้ตรวจสอบผลการคำนวณจากต้นกำเนิดรังสีแบบมีปริมาตร คือ แบบทรงกลม ทรงกระบอก และกล่อง กับผลจากการทดลองโดยใช้ไอโซโทปรังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น ตะกั่ว-214 บิสมัท-214 โปแตสเซียม-40 และ ทัลเลียม-208 ผลปรากฏว่าประสิทธิภาพของพีคที่ได้จากโค้ด MCNP-4A มีค่าสูงกว่าที่ได้จากผลการทดลองประมาณ 10-20% ความแตกต่างนี้เกิดขึ้นจากประสิทธิภาพทั้งหมดและการปรับตั้งค่าของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้en
dc.description.abstractalternativeDetection efficiency of gamma-rays emitted from volumetric sources of different shapes; namely sphere, cylinder and box as well as line and point; were calculated using the MCNP-4A computer code. A user interface programme was developed to allow the user to easily provide input parameters for the code such as size, shape and composition of the source, size of the NaI(Tl) detector, distance between the source and the detector, etc. The results were first verified with simple source geometry, i.e. point and line sources, and they were found to be perfect match with the analytical method. Finally, the results from volumetric sources, i.e. sphere, cylinder and box, were obtained and rechecked with experiments using available naturally occurring radioisotopes such as [superscript 214]Pb, [superscript 214]Bi, [superscript 40]K and [superscript 208]Tl. It was found that the photopeak efficiencies obtained from the MCNP-4A code were approximately 10-20% greater than those obtained from the experiments. These discrepancies were due to overall efficiencies and settings of the electronic equipment used.en
dc.format.extent2681864 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรังสีแกมมา -- การวัดen
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองสำหรับการคำนวณประสิทธิภาพการวัดรังสีแกมมาด้วย MCNP-4Aen
dc.title.alternativeDevelopment of a simulation model for calculating gamma-ray detection efficiency by MCNP-4Aen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfnenck@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorSunchai.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thananchai.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.