Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1047
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorวรรัตน์ ชัยชนะ, 2517--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-24T12:15:49Z-
dc.date.available2006-07-24T12:15:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741744854-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1047-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึง ความรู้ ทัศนคติ ความคาดหวัง ความพึงพอใจ และพฤติกรรมประชาธิปไตยของเยาวชนจากการเข้าอบรมในโครงการฝึกอบรมวิทยากรเผยแพร่ประชาธิปไตย และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ ความคาดหวัง ความพึงพอใจ และพฤติกรรมประชาธิปไตยของเยาวชนจากการเข้ารับการอบรมในโครงการฝึกอบรมวิทยากรเผยแพร่ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา มีจำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างเจาะจง จากเยาวชนอายุ 14 18 ปี ที่รับการอบรมทางด้านการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจากวิทยากรเผยแพร่ประชาธิปไตย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสถิติ t-test,One-way ANOVA และค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การประมวลผลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/Pc+ ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 16 17 ปี เป็นนักเรียนระดับอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระดับปานกลาง มีทัศนคติเป็นกลางต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีความคาดหวังจากการอบรมและความพึงพอใจต่อการอบรมจากวิทยากรเผยแพร่ประชาธิปไตยอยู่ในระดับสูง แต่มีพฤติกรรมประชาธิปไตยในระดับต่ำ 3. ลักษณะทางประชากร ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย ยกเว้นตัวแปรเพศ ที่มีความสัมพันธ์กับความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ เพศหญิงมีความรู้มากกว่า เพศชาย 4. ลักษณะทางประชากร ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย 5. ลักษณะทางประชากร ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับความคาดหวังและความพึงพอใจ ต่อการเข้าอบรม6. ลักษณะทางประชากร ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมประชาธิปไตย ยกเว้น ตัวแปรเรื่องเพศที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ เพศชายมีพฤติกรรมประชาธิปไตยมากกว่าเพศหญิง 7. ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมของเยาวชนไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมประชาธิปไตยของเยาวชน 8. ทัศนคติของเยาวชนต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมประชาธิปไตยของเยาวชน 9. ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมของเยาวชนไม่มีความสัมพันธ์กับความคาดหวังของเยาวชน 10. ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมของเยาวชน 11. ทัศนคติของเยาวชนต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของเยาวชน 12. ทัศนคติของเยาวชนต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยไม่มีความสัมพันธ์กับความคาดหวังของเยาวชน 13. ความคาดหวังของเยาวชนมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของเยาวชนต่อการเข้ารับการอบรมen
dc.description.abstractalternativeThis survey aims to study the association among knowledge, attitude, expectation, satisfaction and democracy oriented behavior among 400 purposively selected youth aged between 14-18 years who participated in democracy publicity programme. Self administered questionnaires were distributed immediately after training. Percentage, mean, t-test and pearson's product moment correlation are statistical technique used to do the analysis. Finding : 1. There are more female than male respondents. The majority aged believe 16 17 years old, received vocational and upper secondary school education. 2. The youth's have moderate level of knowledge and attitude toward democracy political system, the democracy oriented pratice is limited, while their levels of expectation and satisfaction with the training were in high level but the democratic behavior of sample were in low. 3. Age, education and parents income are not significantly related with knowledge about democratic political system while sex is significantly relatedto knowledge. 4. Sex, age, education and income are not significantly related with attitude toward democratic political system. 5. Sex, age, education level and income are not significantly related with expectation and satisfaction with training programme. 6. Age, education and income except sex are not related with democratic oriented behavior. 7. Knowledge obtained from training programme are not related with youth's democratic oriented behavior. 8. Youth's attitude toward democratic political system are not significantly related with democratic oriented behavior. 9. Knowledge from training is not related with youth's expectation with the training programme. 10.Knowledge from training is not related with youth's satisfaction with the programme. 11.Youth's attitude toward democratic political system is significantly related with youth's satisfaction. 12.Youth's attitude toward democratic political system is not related significantly with youth's expectation. 13.Youth's expectation on democratic political system is related with youth's satisfaction in the programme.en
dc.format.extent6187324 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1003-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเยาวชน -- กิจกรรมทางการเมืองen
dc.subjectประชาธิปไตยen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.titleความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมประชาธิปไตยของเยาวชนในโครงการฝึกอบรมวิทยากรเผยแพร่ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญen
dc.title.alternativeThe youth's knowledge, attitude and democracy oriented behavior as affected by participation in the training for the trainers course on publicizing democracyen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1003-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
worarat.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.