Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักพร เหล่าสุทธิวงษ์-
dc.contributor.advisorชลธชา ห้านิรัติศัย-
dc.contributor.authorธัชพันธุ์ พูลทวีเกียรติ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-26T08:26:22Z-
dc.date.available2009-08-26T08:26:22Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746379607-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10533-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2540en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอกเมื่อยึดแบรกเกตด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ชนิดบ่มด้วยแสงโดยใช้วิธีเตรียมผิวเคลือบฟันที่ต่างกัน ทำการทดลองโดยใช้ฟันกรามน้อยซึ่งถูกถอนจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน จำนวน 120 ซี่ แบ่งเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 30 ซี่ กลุ่มที่ 1 ใช้คอมโพสิตเรซินเป็นวัสดุยึดติด กลุ่มที่ 2 3 และ 4 ใช้กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดบ่มด้วยแสงเป็นวัสดุยึดติด โดยกลุ่มที่ 2 ไม่เตรียมผิวเคลือบฟัน กลุ่มที่ 3 เตรียมผิวเคลือบฟันโดยใช้กรดฟอสฟอริก กลุ่มที่ 4 เตรียมผิวเคลือบฟันโดยใช้กรดฟอสฟอริกและทาด้วยบอนดิงเรซิน ชิ้นงานตัวอย่างถูกเก็บในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส 24 ชั่วโมงก่อนนำไปผ่านเครื่องเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเป็นวงจรระหว่าง 5-55 องศาเซลเซียส 500 รอบ จากนั้นนำไปทดสอบกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอกด้วยเครื่องยูนิเวอร์แซลเทสติงแมชีน ความเร็วของการดึง 0.5 มิลลิเมตร/วินาที การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอกทำโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบเชฟเฟ่ท์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 สรุปว่าค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอกในกลุ่มที่ 1 (16.29+_2.23 เมกกะปาสคาล) มีค่ามากกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญ ค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอกในกลุ่มที่ 2 (5.88+_2.46 เมกกะปาสคาล) มีค่าน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอก ในกลุ่มที่ 3 (13.4+_1.64 เมกกะปาสคาล) และ กลุ่มที่ 4 (13.70+_2.19 เมกกะปาสคาล) มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ความล้มเหลวของการยึดติดในกลุ่มที่ 1 เกิดภายในเนื้อของวัสดุยึดติดและการยึดติดระหว่างวัสดุยึดติดกับผิวเคลือบฟัน กลุ่มที่ 2 เกิดที่การยึดติดระหว่างวัสดุยึดติดกับผิวเคลือบฟัน ส่วนกลุ่มที่ 3 และ 4 เกิดภายในเนื้อของวัสดุยึดติดen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to compare mean shear/peel bond strength when bonding brackets with ligth cured glass ionomer cement to enamel after various surfac treatments. One hundred and twenty premolar teeth which were extracted from orthodontic patients were devided into four groups, each group contain thirty teeth. Group 1, composite resin was used. In group 2, 3 and 4 ligth cured glass ionomer cement was used as the adhesive material. Unprepared enamel surfaces were tested in group 2. For group 3, enamel surfaces were etched with phosphoric acid, and group 4, enamel surfaces were etched with phosphoric acid then bonding resin was applied to the etched surfaces later on. Samples were stored for 24 hours in 37 ํC distilled water before subjected to 500 thermocycles between 5 ํC to 55 ํC. Universal testing machine with a crosshead speed of 0.5 mm./min. was used to test shear/peel bond strength of the samples. The results were statistically analysed by using one-way ANOVA and Scheffe test at significant level of 0.05. The mean shear/peel bond strength in group 1 (16.29+-2.33 Mpa) was significantly higher than another groups. Lowest mean shear/peel bond strength was found in group 2 (5.88+-2.46 Mpa). Mean shear/peel bond strength in group 3 (13.41+-1.64 Mpa) and group 4 (13.70+-2.19 Mpa) showed no significantly differences. Adhesive failure at resin/enamel interface and cohesive failure were observed in group 1. Group 2 showed adhesive failure at resin/enamel interface and cohesive failure was founded in group 3 and 4.en
dc.format.extent994315 bytes-
dc.format.extent883166 bytes-
dc.format.extent1661503 bytes-
dc.format.extent1532292 bytes-
dc.format.extent1342332 bytes-
dc.format.extent1232068 bytes-
dc.format.extent1047857 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectซีเมนต์ทางทันตกรรมen
dc.subjectแรงเฉือน (กลศาสตร์)en
dc.subjectครอบฟันen
dc.subjectกลาสไอโอโนเมอร์en
dc.subjectผิวเคลือบฟันen
dc.titleผลของการเตรียมผิวเคลือบฟันต่อกำลังแรงยึดชนิดเฉือน/ปอก ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดบ่มด้วยแสงสำหรับยึดแบรกเกตen
dc.title.alternativeThe effects of enamel surface treatments on shear/peel bond strength of light cured glass ionomer cement bonded bracketsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมจัดฟันes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRuckporn.L@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thachpan_Po_front.pdf971.01 kBAdobe PDFView/Open
Thachpan_Po_ch1.pdf862.47 kBAdobe PDFView/Open
Thachpan_Po_ch2.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Thachpan_Po_ch3.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Thachpan_Po_ch4.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Thachpan_Po_ch5.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Thachpan_Po_back.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.