Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล-
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์-
dc.contributor.authorพัชรี ซิ้มเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-27T10:07:35Z-
dc.date.available2009-08-27T10:07:35Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741755203-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10594-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้พัฒนาแบบจำลองคณิตศาสตร์การกำจัดความชื้นและคาร์บอนไดออกไซด์พร้อมกันด้วยเครื่องดูดซับแบบรังผึ้งหมุนโดยใช้สารดูดซับโมเลคิวเลซีฟ ชนิดสิบสามเอกซ์ เพื่อใช้ในการ ศึกษาทำนายพฤติกรรมเชิงพลวัต สมรรถนะการทำงานของเครื่องดูดซับแบบรังผึ้งหมุนโดยพิจารณาประสิทธิภาพการดูดซับความชื้นและคาร์บอนไดออกไซด์พร้อมกัน และทำการประยุกต์แบบจำลองเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงตามเวลาของคุณสมบัติของอากาศภายในห้องปรับอากาศที่มีการติดตั้งเครื่องดูดซับแบบรังผึ้งหมุน จากการวิจัยในแบบการจำลองได้ใช้ไอโซเทอมของสมดุลการดูดซับร่วมของความชื้นและคาร์บอนไดออกไซด์บนโมเลคิวเลซีฟ ชนิดสิบสามเอกซ์ จาก ShenและWorek (1994) ที่ได้หาค่าสหสัมพันธ์จากสมการ Dubinin-Polanyi สำหรับความชื้น และสมการจากกฎของเฮนรี่ (Henryʼs Law) สำหรับคาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนั้นพบว่า แบบจำลองสามารถทำนายพฤติกรรมเชิงพลวัตและปรากฏการณ์การถ่ายเทความร้อนและมวลพร้อมกันของการดูดซับความชื้นและคาร์บอนไดออกไซด์พร้อมกัน และมีสภาวะเงื่อนไขที่สามารถให้ประสิทธิภาพการดูดซับความชื้นและคาร์บอนไดออกไซด์พร้อมกันมีค่าใกล้เคียงกัน คือประมาณ 45% ของประสิทธิภาพการดูดซับ ที่ความยาวโรเตอร์เท่ากับ 0.1 เมตร ความเร็วรอบหมุนโรเตอร์เท่ากับ 25 รอบ/ชั่วโมง และอุณหภูมิลมที่ใช้รีเจเนเรชั่นเท่ากับ 423 องศาเคลวิน ในส่วนผลที่ได้รับจากแบบจำลองเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงตามเวลาของคุณสมบัติของอากาศภายในห้องปรับอากาศพบว่า สามารถลดความเข้มข้นคาร์บอนไดออกไซด์และความชื้นสัมพัทธ์ อยู่ในระดับปริมาณความเข้มข้นคาร์บอนไดออกไซด์ 122 ppm และความชื้นสัมพัทธ์ 16 % ที่อุณหภูมิห้องเท่ากับ 302 องศาเคลวินen
dc.description.abstractalternativeIn this thesis, a mathematical model for rotary honeycomb adsorber has been developed to remove humidity and carbon dioxide by using molecular sieve 13X adsorbent .The objective of this study is to predict the dynamic behavior and the performance of rotary honeycomb adsorber in the efficiency of simultaneous adsorbing humidity and carbon dioxide. Finally in this study, the model is further applied to follow the change of air properties related with time in the air-conditioned room which is installed with rotary honeycomb adsorber. For simulating the sorption process, equilibrium adsorption equations (cosorption isotherms) of humidity and carbon dioxide are develovped from the correlation with Dubinin-Polanyi equation for humidity and Henry's law equation for carbon dioxide by Shen and Worek (1994). According to the research results, it is found that this model can predict the dynamic behavior and the phenomena of simultaneous heat and mass transfer of humidity and carbon dioxide adsorption. Operating condition used can provide similar adsorption efficiency for both humidity and carbon dioxide at approximately 45% ,with the rotor length of 0.1 m., the rotation speed of rotary at 25 rph and air regeneration temperature at 423 K. For the result of following the change of air properties related with time in the air-conditioned room, the model can reduce the level of carbon dioxide concentration to 122 ppm and relative humidity to 16 % at the room temperature of 302 K.en
dc.format.extent4147078 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องดูดซับแบบรังผึ้งหมุนen
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์en
dc.subjectความชื้นสัมพัทธ์en
dc.titleการจำลองการกำจัดความชื้นและคาร์บอนไดออกไซด์พร้อมกันด้วยเครื่องดูดซับแบบรังผึ้งหมุนen
dc.title.alternativeSimulation of simultaneous removal of humidity and carbon dioxide using rotary honeycomb adsorberen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWiwut.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorBundhit.Eu@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharee.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.