Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร ช่วงสุวนิช-
dc.contributor.authorลักษณีย์ โคตรสีเขียว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-28T09:19:47Z-
dc.date.available2009-08-28T09:19:47Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746375024-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10656-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบรรยากาศการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ โรงเรียน 5 โรงเรียน ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ จำนวน 9 ชั้นเรียน และครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสังเกตบรรยากาศการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. บรรยากาศทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นดังนี้ 1.1 การจัดที่นั่งเรียนในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จัดเป็นกลุ่มเพื่อทำการทดลอง โต๊ะทดลองทำด้วยไม้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดยาวสำหรับให้นักเรียนนั่งล้อมรอบ ประมาณ 5-8 คน 1.2 มีการเก็บวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ไว้ในตู้อย่างเป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่ 1.3 มีการจัดป้ายนิเทศทางวิทยาศาสตร์ 1.4 อากาศภายในห้องถ่ายเทได้ดี 1.5 ห้องเรียนสว่างซึ่งอาศัยแสงสว่างทั้งแสงไฟฟ้าและแสงธรรมชาติจากภายนอก 1.6 มีเสียงดังรบกวนจากห้องข้างเคียง 1.7 ห้องเรียนแออัด 1.8 ห้องเรียนสะอาด 1.9 ก๊อกน้ำและอ่างน้ำบางส่วนสามารถใช้งานได้ 2. บรรยากาศทางจิตวิทยาในการเรียนการสอน ส่วนใหญ่เป็นดังนี้ 2.1 ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการเล่าสถานการณ์แล้วโยงเข้าสู่การสอน 2.2 นักเรียนไม่มีอิสระในการทำกิจกรรมการเรียน เนื่องจากต้องปฏิบัติตามคำบอกของครู 2.3 ครูไม่ตัดสินคำตอบของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แต่อธิบายอย่างมีเหตุผล 2.4 นักเรียนค้นหาความรู้จากหนังสือเรียนเพียงอย่างเดียว 2.5 ครูมีความยุติธรรมกับนักเรียน โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการตอบคำถามอย่างทั่วถึง มีการชมเชย เมื่อนักเรียนปฏิบัติดีและถูกต้อง 2.6 ครูควบคุมให้นักเรียนมีวินัยในการทำงาน โดยกำหนดช่วงเวลาในการทำงาน และกำหนดเวลาส่งงานอย่างชัดเจน และลงโทษเมื่อนักเรียนไม่ส่งหรือส่งช้าen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to study the classroom atmosphere science instruction at the lower secondary education level in schools under the Expansion of Basic Education Opportunity Project, Bangkok Metropolitan Administration. The samples were 5 schools, 9 science classrooms and 8 science teachers. The research instrument was the observation form which was constructed by the researcher. Data were analyzed by percentage. The research findings were as follows: 1. The physical atmosphere mostly found were : 1.1 Seatings in the science laboratories were arranged for experimental activities. Each wooden rectangular experimental table was surrounded by 5-8 students on single chairs. 1.2 Science materials and equipments were arranged and classified in good order in the cupboard. 1.3 Science bulletin boards were set. 1.4 The classrooms were airy. 1.5 The classrooms were brightened by electricity and the natural light. 1.6 The classrooms were disturbed by the noise from the classroom nearby. 1.7 The classrooms were crowded. 1.8 The classroom were clean. 1.9 Some of the water pipes and basins were in good condition. 2. The psychological atmosphere mostly found were : 2.1 Teachers stimulated students interest by using mind capture. 2.2 It was found that the students had no freedom in doing activities because students had to do according to teachers' instruction. 2.3 Teachers did not judge students' answers but explained them reasonably. 2.4 Teachers provoked students to find knowledge only from books. 2.5 Teachers had justice by letting them participating in answering questions. Compliment was done when students could do things correctly. 2.6 Teachers disciplined students to work by setting timing in doing and handed in their work. Punishment was done when students sent their work late or did not send it at all.en
dc.format.extent875351 bytes-
dc.format.extent881644 bytes-
dc.format.extent1393283 bytes-
dc.format.extent888074 bytes-
dc.format.extent1223922 bytes-
dc.format.extent1064585 bytes-
dc.format.extent1933104 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางการเรียนen
dc.titleการศึกษาบรรยากาศการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียน โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeStudy of classroom atmosphere science instruction at the lower secondary eduction level in school under the Expansion of Basic Education Opportunity Project Bangkok Metropolitan Administrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Luksanee_Ko_front.pdf854.83 kBAdobe PDFView/Open
Luksanee_Ko_ch1.pdf860.98 kBAdobe PDFView/Open
Luksanee_Ko_ch2.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
Luksanee_Ko_ch3.pdf867.26 kBAdobe PDFView/Open
Luksanee_Ko_ch4.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Luksanee_Ko_ch5.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Luksanee_Ko_back.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.