Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรินธร วิทยะสิรินันท์-
dc.contributor.authorสุพันธ์วดี ไวยรูป-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-29T06:49:28Z-
dc.date.available2009-08-29T06:49:28Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746378201-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10735-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในด้านการช่วยเหลือ การมีส่วนร่วมทางสังคม และการเป็นที่ยอมรับของสังคมระหว่างเด็กวัยอนุบาล ที่มีความบกพร่องทางการเห็นที่เรียนร่วมกับเด็กปกติ และระหว่างเด็กวัยอนุบาลที่มีความบกพร่องทางการเห็นกับครูผู้สอน และศึกษาถึงปัญหา ตลอดจนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าว ตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษาคือ เด็กวัยอนุบาลที่เป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น ซึ่งเรียนในชั้นเรียนร่วม จำนวน 3 คน ผลการวิจัยพบว่า 1.ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นกับครูผู้สอน มีลักษณะเป็นไปในทางบวกสูง ครูทุกคนยอมรับและช่วยเหลือเด็กอย่างสม่ำเสมอ และปฏิบัติต่อเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นเช่นเดียวกับเด็กปกติทั่วไป อย่างไรก็ตามพบว่า ในห้องที่มีครูหลายคน ครูมีแนวโน้มจะเข้ามาช่วยเหลือเด็กทันทีที่เด็กทำได้ช้าหรือไม่ถูกต้อง แม้เด็กจะไม่ร้องขอและเด็กก็มีแนวโน้มจะขอความช่วยเหลือจากครูเท่านั้น 2.ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นกับเด็กปกติ มีลักษณะทั้งที่เป็นทางบวกและทางลบ เด็กที่มองเห็นเลือนลางมีมนุษยสัมพันธ์ดีและเรียนร่วมเพียงคนเดียว ได้รับการยอมรับจากเพื่อนทั้งห้องตลอดภาคเรียน แต่สำหรับเด็กตาบอด 2 คน ที่เรียนร่วมในห้องเดียวกัน ไม่ได้รับการยอมรับจากเพื่อนบางคนเพราะมักแสดงพฤติกรรมแปลกๆ และมีความขัดแย้งกับเพื่อนสืบเนื่องจากการมองไม่เห็น ประกอบกับความไม่เข้าใจของเพื่อน แต่เมื่อเด็กเริ่มคุ้นเคยกัน เด็กปกติก็ค่อยๆ ยอมรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นมากขึ้น และเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นก็ได้รับการยอมรับจากเพื่อทุกคน จนจบภาคเรียน แม้เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น อยากเข้าร่วมกิจกรรมทุกอย่างในชั้น แต่ก็มีส่วนร่วมสูงเฉพาะกิจกรรมประเภทเคลื่อนไหวและไม่ใช้สายตาเป็นหลัก โดยมีโอกาสต่ำในการเข้าร่วมกิจกรรมที่ใช้สายตาคือ กิจกรรมวงกลม และกิจกรรมกลุ่ม เพราะไม่ได้มีการปรับสื่อ ตำแหน่งที่นั่งของเด็ก ตลอดจนการใช้เทคนิควิธีต่างๆ เพื่อทดแทนการมองไม่เห็นของเด็ก 3.ปัญหาที่เกิดขึ้นและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ เด็กปกติไมได้รับการเตรียมให้เข้าใจธรรมชาติของเด็ก ที่มีความบกพร่องทางการเห็น และเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น ก็ไม่ได้รับการฝึกทักษะทางสังคมในการเล่นและทำงานร่วมกับเด็กอื่น เด็กทั้ง 2 กลุ่มไม่ได้รับการเจาะจงจัดโอกาสให้ได้เรียนรู้กันและกัน ในสถานการณ์ที่เป็นมิตรและครูผู้สอนเองก็ขาดความรู้ความสามารถในการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กทั้ง 2 กลุ่มในชั้นเรียนร่วม โดยเฉพาะการปรับสื่อสภาพทางกายภาพ และเทคนิคการสอนเพื่อทดแทนการมองไม่เห็นของเด็ก สาเหตุสำคัญของปัญหาดังกล่าว คือ ครูการศึกษาพิเศษมีภาระงานมากเกินไปจนไม่สามารถดำเนินการให้ความรู้แก่ครูและด็กปกติ ตลอดจนช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพรองทางการเห็นได้เท่าที่ควรen
dc.description.abstractalternativeTo study the social interaction in self-help, social participation and social acceptance between visually impaired preschoolers and their normal peers in the mainstreamed classes, and between visually impaired preschoolers and their teachers, and to study problems and influencing problems of the interaction. The subjects were 3 visually impaired preschoolers in mainstreamed classes. The research finding were as follows: 1. The social interaction of the visually impaired children and their teachers were highly positive. Every teacher accepted and helped the children consistently and treated the children the same as their normal peers. However, in the classroom with several teachers, each teacher was found to help the child as soon as she was slow or did something incorrectly although the child did not ask for help. The children in this room, therefore, tended to ask for help from the teachers only. 2. The social interaction of the visually impaired children and their normal peers was both positive and negative. The child with low vision, having good human relationship and being the only exceptional child in the classroom, was accepted by all of her classmates through the semester; while the 2 blind children who were mainstreamed in the same classroom were not accepted by some children because of their blindism behavior, conflicts regarding visual limitation, and lack of understanding on the normal children's part. However, after they had learned from each other, the opposing children began to accept their blind friends gradually, and fully accepted them by the end of the semester. Although all the visually impaired children wanted to participate in every classroom activity, they could participate actively only in movement activities requiring less visual ability, but had low opportunities to participate in the academic activities which were basically visual, since no adaptation of the media, seat and techniques to compensate the visual limits had been done. 3. The problems and influencing factors were the normal children had not been prepared to understand the visually impaired child's nature, on the contrary, the visually impaired children were not trained social skills of working and playing with other children, both groups were not intentionally provided opportunities to learn from each other in friendly atmosphere, and the teachers lacked knowledge and skills on promoting both normal and exceptional children in a mainstreamed classroom. The main reason of such problems were the special education teacher was over leaded with her work that she could not provide appropriate knowledge to teachers and normal children, as well as supervising exceptional children effectively.en
dc.format.extent892428 bytes-
dc.format.extent1045236 bytes-
dc.format.extent2711255 bytes-
dc.format.extent1565347 bytes-
dc.format.extent1779624 bytes-
dc.format.extent3277649 bytes-
dc.format.extent1385028 bytes-
dc.format.extent1210981 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาพิเศษen
dc.subjectเด็กที่มีความบกพร่องทางสายตาen
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนen
dc.titleการศึกษาปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น ที่เรียนร่วมในชั้นเรียนปกติระดับอนุบาลen
dc.title.alternativeA study of social interaction of visually impaired preschoolers in the mainstreamed classroomen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suphavadee_Va_front.pdf871.51 kBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_ch1.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_ch2.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_ch3.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_ch4.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_ch5.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_ch6.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Suphavadee_Va_back.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.