Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorจารุภัทร ถาวโรฤทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialเชียงใหม่-
dc.date.accessioned2009-08-29T07:21:11Z-
dc.date.available2009-08-29T07:21:11Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741705859-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10742-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วม ในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ และเปรียบเทียบการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วม ในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ ระหว่างชาวเขาเผ่าลีซอบ้านห้วยน้ำดัง ชาวเขาเผ่าลีซอบ้านห้วยน้ำรูดอยสามหมื่น กับชาวไทยพื้นราบบ้านแม่เลา อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีทั้งสิ้น 353 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม ประกอบการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ซึ่งประมวลผล โดยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า1. การเปิดรับข่าวสาร มีความสัมพันธ์กับความรู้ในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ 2. การเปิดรับข่าวสาร มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ 3. การเปิดรับข่าวสาร มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ 4. ความรู้ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ 5. ความรู้ มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ 6. ทัศนคติ ไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ 7. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วม มีความสัมพันธ์กับลักษณะประชากร 8. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ ระหว่างชาว เขาเผ่าลีซอบ้านห้วยน้ำดัง ชาวเขาเผ่าลีซอบ้านห้วยน้ำรูดอยสามหมื่น กับชาวไทยพื้นราบบ้านแม่เลา อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ มีความแตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the correlation among information reception ,knowledge ,attitude and participation in forest and watershed rehabilitation. The correlation among information reception ,knowledge ,attitude and participation with demographic. Questionnaires and interview were used to collect the data from 353 samples. Frequency, percentage, mean, Pearson's product moment correlation coefficient were employed for the analysis of the data .SPSS program was used for data processing. The results of the study were as follows : 1. Exposure to mass media, personal media and specialized media correlated with knowledge of forest and watershed rehabilitation. 2. Exposure to personal media and specialized media correlated with attitude toward forest and watershed rehabilitation. 3. Exposure to mass media, personal media and specialized media correlated with participation toward forest and watershed rehabilitation. 4. Knowledge of forest and watershed rehabilitation correlated with attitude toward forest and watershed rehabilitation. 5. Knowledge of forest and watershed rehabilitation correlated with participation toward forest and watershed rehabilitation. 6. Attitude toward forest and watershed rehabilitation did not correlated with participation toward forest and watershed rehabilitation 7. Information reception ,knowledge ,attitude and participation in forest and watershed rehabilitation correlated with demographic. 8. information reception ,knowledge ,attitude and participation in forest and watershed rehabilitation between lisu hilltribal and lowland people was difference.en
dc.format.extent3862751 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.395-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectลีซอen
dc.subjectผู้รับสารen
dc.subjectการฟื้นฟูป่า -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen
dc.titleการเปรียบเทียบการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้ และแหล่งต้นน้ำ ระหว่างชาวเขาเผ่าลีซอบ้านห้วยน้ำดัง ชาวเขาเผ่าลีซอบ้านห้วยน้ำรูดอยสามหมื่น กับชาวไทยฟื้นราบบ้านแม่เลา อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่en
dc.title.alternativeA comparative study of information reception, knowledge, attitude and participation in forest and watershed rehabilitation between Lisu hilltribal Ban Huai Nam Dang, Ban Huai Nam Ru Doi Sam Mun with lowland people Ban Mae Lao in Mae Tang district, Chiang Mai provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanawadee.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.395-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jarupat.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.