Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10746
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดิเรก ศรีสุโข-
dc.contributor.authorวรวรรณ สังสัพพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-29T07:35:35Z-
dc.date.available2009-08-29T07:35:35Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746375911-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10746-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความสามารถด้านการแสวงหาความรู้ องค์ประกอบความสามารถด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติ และองค์ประกอบความสามารถด้านการคิดชั้นสูงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง จำนวน 330 คน และนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ จำนวน 179 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบวัดความสามารถด้านการแสวงหาความรู้ ด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติและด้านการคิดขั้นสูง ซึ่งวัดความสามารถย่อย 15 ด้าน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factory Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมลิสเรล (LISREL) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความสามารถด้านการแสวงหาความรู้ องค์ประกอบความสามารถด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติและองค์ประกอบความสามารถด้านการคิดขั้นสูงของกลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความสามารถด้านการแสวงหาความรู้ องค์ประกอบความสามารถด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติ และองค์ประกอบความสามารถด้านการคิดขั้นสูงของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมีค่าสูงกว่าของกลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ 2.1 เมทริกซ์สหสัมพันธ์ขององค์ประกอบความสามารถด้านการแสวงหาความรู้ องค์ประกอบความสามารถด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติ และองค์ประกอบความสามารถด้านการคิดขั้นสูงของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมีค่าแตกต่างจากของกลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความสามารถด้านการแสวงหาความรู้กับองค์ประกอบความสามารถด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติ และ ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความสามารถด้านการประมวลผลอย่างอัตโนมัติกับองค์ประกอบความสามารถด้านการคิดขั้นสูงของกลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมีค่าสูงกว่าของกลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to analyze and compare the relationships among the factors of knowledge acquisition, automatized processing, and metacomponent abilities of lower secondary school between high and low achievment students. Three hundred and thirty high achievement students and one hundred and seventy nine low achievement students were tested on fifteen subtests. Test scores were analyzed through confirmatory factor analysis model using LISREL program. The major findings were as follows: 1. Relationships among the factors of knowledge acquisition, automatized processing, and metacomponent abilities of high and low achievement students were significant at .01 level. 2. Relationships among the factors of knowledge acquisition, automatized processing, and metacomponent abilities of the high achievement students were significantly higher than that of the low achievement students: 2.1 The correlation matrices of knowledge acquisition, automatized processing, and metacomponent abilities factors of the high achievement students was significantly different from that of the low achievement students at .01 level. 2.2 The relationship between knowledge acquisition and automatized processing abilities factors of the high achievement students was significantly higher than that of the low achievement students at .05 level. The relationship between automatized processing and metacomponent ablities factors of the high achievement students was significantly higher than that of the low achievement students at .05 level.en
dc.format.extent1018732 bytes-
dc.format.extent940995 bytes-
dc.format.extent1659903 bytes-
dc.format.extent1067937 bytes-
dc.format.extent1473657 bytes-
dc.format.extent967950 bytes-
dc.format.extent2042043 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเชาวน์ปัญญาen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.subjectการแสวงหาความรู้en
dc.subjectความคิดและการคิดen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของความสามารถด้านการแสวงหาความรู้ การประมวลผลอย่างอัตโนมัติและการคิดขั้นสูง ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น : การเปรียบเทียบเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ำen
dc.title.alternativeRelationship among the factors of knowledge acquisition, automatized processing, and metacomponent abilities of lower secondary school students : a comparison of correlation matrices between high and low achievement studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Woorawan_Sa_front.pdf994.86 kBAdobe PDFView/Open
Woorawan_Sa_ch1.pdf918.94 kBAdobe PDFView/Open
Woorawan_Sa_ch2.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Woorawan_Sa_ch3.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Woorawan_Sa_ch4.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open
Woorawan_Sa_ch5.pdf945.26 kBAdobe PDFView/Open
Woorawan_Sa_back.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.