Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10889
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์ | - |
dc.contributor.advisor | เลอสรวง เมฆสุต | - |
dc.contributor.author | ปณิธาน ธูปถมพงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-09-01T08:27:24Z | - |
dc.date.available | 2009-09-01T08:27:24Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9740306349 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10889 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | การวัดค่าโฮลด์อัพมีอยู่หลายวิธี เทคนิคอัลทราโซนิกเป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อการประมาณค่าโฮลด์อัพของวัฏภาคกระจาย ซึ่งวิธีการนี้จะไม่เข้าไปรบกวนการทำงานของระบบ แต่เทคนิคนี้มีการพัฒนาใช้กับระบบสององค์ประกอบที่ไม่มีการสกัดเข้าร่วมด้วย จึงยังไม่สามารถนำไปใช้คิดค่าโฮลต์อัพในกระบวนการสกัดที่แท้จริง ซึ่งต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อยสามองค์ประกอบ แนวคิดการวัดเวลาในการเดินทางของคลื่นเสียงอัลทราโซนิกผ่านสารต่างชนิดกันและผ่านสารผสมที่มีโฮลต์อัพไม่เท่ากันด้วยความเร็วไม่เท่ากันนั้นน่าจะใช้ได้สำหรับระบบสารองค์ประกอบเช่นเดียวกับระบบสององค์ประกอบแต่อาจจะมีรายละเอียดของความเร็วสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน ระบบที่เลือกมาใช้ในงานวิจัยนี้ คือ ระบบอะซิโตน-โทลูอีน-น้ำ โดยอะซิโตนเป็นตัวถูกละลาย เมื่ออะซิโตนมีความเข้มข้นต่างๆ จะมีผลทำให้ความเร็วในการเดินทางผ่านของผสมไม่เท่ากัน ในการศึกษาได้มีการเปรียบเทียบค่าระหว่างเทคนิคนี้กับเทคนิคดึงตัวอย่างเพื่อวัดโฮลด์อัพโดยตรงซึ่งมีข้อด้อยคือเป็นการรบกวนระบบ ในขณะเดียวกันได้ศึกษาประสิทธิภาพการสกัดของระบบที่ตัวแปรการทดลองต่างๆ กันด้วย จากการทดลองพบว่าในระบบสามองค์ประกอบ อัตราการไหลของวัฏภาคกระจาย อัตราการไหลของวัฏภาคต่อเนื่อง ความเร็วรอบจานหมุน มีผลต่อค่าโฮลด์อัพ โดยโฮลด์อัพมีค่าเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอัตราการไหลของวัฏภาคกระจาย และมีค่าลดลงเมื่ออัตราการไหลของวัฏภาคต่อเนื่องเพิ่มขึ้น และผลของความเร็วรอบจานหมุนมีผลเล็กน้อยต่อค่าโฮลด์อัพ จากการทดลองได้เปรียบเทียบการวัดค่าโฮลด์อัพด้วยวิธีอัลทราโซนิกและวิธีวัดปริมาตรโดยตรงพบว่ามีค่าใกล้เคียงกันและน่าเชื่อถือ | en |
dc.description.abstractalternative | Ultrasonic technique is one of the methods for determination of dispersed phase hold-up which does not disturb the operating system. This technique was developed for systems of two components that the extraction does not take place. For the extraction process, the system has at least three components. The concept of traversing time of ultrasonic waves through different components or through mixtures with different hold-up should be applicable with ternary system as well as with binary system. However, the detail phenomenon might be differed, especially the relative velocity in each media. In this research we studied the ternary system : acetone-toluene-water, which acetone is the solute. The concentration of acetone might cause different ultrasonic velocity in the mixture. The hold-up calculated from this technique was compared with the sampling method. The flow rates of dispersed phase and continuous phase, and the rotating disc speed have influence on the hold-up. the hold-up was increased by increasing the flow rate of dispersed phase. In contrast, the hold-up was decreased by increasing the flow rae of continuous phase. The rotating disc speed has sightly effect on the hold-up. the hold-up measurements by the ultrasonic technique and by the sampling method were very close and reliable | en |
dc.format.extent | 1195103 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสกัด (เคมี) | en |
dc.subject | การทดสอบด้วยคลื่นเหนือเสียง | en |
dc.title | การวัดโฮลด์อัพของเฟสกระจายโดยเทคนิคอัลทราโซนิก สำหรับการสกัดอะซิโตนในเครื่องสกัดแบบจานหมุน | en |
dc.title.alternative | Dispersed phase hold-up measurement by ultrasonic technique for acetone extraction in a rotating disc contactor | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | somkiat@sc.chula.ac.th, Somkiat.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | lursuang.M@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panitan.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.