Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10993
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา บวรกิติวงศ์-
dc.contributor.authorนิคม กีรติวรางกูร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-05T05:08:56Z-
dc.date.available2009-09-05T05:08:56Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743331085-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10993-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบระหว่างวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบจำกัด (Restricted Factor Analysis : RFA) วิธีแมนเทล-แฮนส์เซล (Mantel-Haenszel : MH) และวิธีการตอบสนองข้อสอบ (Item Response Theory : IRT) แบบ 2 พารามิเตอร์โดยเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด เมื่อขนาดกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 ขนาดคือ กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก (300 คน) และขนาดใหญ่ (1000 คน) ค่าความยาวของแบบสอบแบ่งออกเป็น 2 ขนาดคือ แบบสอบสั้น (25 ข้อ) และแบบสอบยาว (75 ข้อ) ค่าความยากของข้อสอบแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ กลุ่มข้อสอบที่มีความยากสูง ปานกลาง และต่ำ ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ กลุ่มข้อสอบที่มีค่าอำนาจจำแนกสูง ปานกลางและต่ำ ขนาดความลำเอียงของข้อสอบแบ่งออกเป็น 2 ขนาดคือ กลุ่มข้อสอบที่มีความลำเอียงสูง และต่ำ ผลการวิจัยพบว่า 1. โดยภาพรวมวิธี RFA มีประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบสูงที่สุด รองลงมาคือ วิธี MH และวิธี IRT แบบ 2 พารามิเตอร์ ตามลำดับ และวิธี IRT มีอัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 สูงกว่าวิธี MH และวิธี RFA ตามลำดับ 2. วิธี MH มีประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบสูง ภายใต้เงื่อนไขแบบสอบที่มีความยากต่ำ อำนาจจำแนกสูง ที่ขนาดความยาวแบบสอบ 75 ข้อ เมื่อใช้กลุ่มตัวอย่างขนาด 1000 คน 3. วิธี IRT แบบ 2 พารามิเตอร์ มีประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบสูง ภายใต้เงื่อนไขแบบสอบที่มีความยากต่ำ ที่ขนาดความยาวแบบสอบ 75 ข้อ เมื่อใช้กลุ่มตัวอย่างขนาด 1000 คนen
dc.description.abstractalternativeTo compare results from the detection of uniform differential functioning test items among Restricted Factor Analysis (RFA), Mantel-Haenszel (MH) and Item Response Theory (IRT) two-parameter procedures. The factors manipulated in this study were : 1) two sample sizes of examinees : 300 (for small sample) and 1000 (for large sample). 2) two sizes of test length : 25 (for short form) and 75 (for long form) items, 3) three levels of item discrimination : high, moderate, and low, 4) three levels of item difficulty : high, moderate, and low, and 5) two levels of item bias : high and low. The major findings are as follows : 1. The Restricted Factor Analysis (RFA) has the highest efficiency in detecting differential item functioning (DIF) followed by the Mantel-Haenszel (MH) and the Item Response Theory (IRT) two-parameter procedures. For Type I error rate, the Item Response Theory (IRT) two-parameter procedure yields the highest followed by the Mantel-Haenszel (MH) and the Restricted Factor Analysis (RFA) procedures. 2. The Mantel-Haenszel procedure is highly efficient in detecting DIF under these conditions : low item difficulty, high item discrimination, long form, and large sample size. 3. The Item Response Theory two-parameter procedure is highly efficient in detecting DIF under these conditions : low item difficulty, all three levels of item discrimination, long form and large sample size.en
dc.format.extent808502 bytes-
dc.format.extent917796 bytes-
dc.format.extent1046176 bytes-
dc.format.extent971338 bytes-
dc.format.extent1192059 bytes-
dc.format.extent863326 bytes-
dc.format.extent1044824 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectข้อสอบen
dc.subjectการวิเคราะห์องค์ประกอบจำกัดen
dc.subjectแมนเทล-แฮนส์เซลen
dc.subjectทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบen
dc.subjectการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบ ระหว่างวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบจำกัด แมนเทล-แฮน์เซล และการตอบสนองข้อสอบen
dc.title.alternativeA comparison of the efficiency in detecting differential item functioning among restriced factor analysis, Mantel-Haenszel, and item response theory proceduresen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuchada.b@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nikgom_Ke_front.pdf789.55 kBAdobe PDFView/Open
Nikgom_Ke_ch1.pdf896.29 kBAdobe PDFView/Open
Nikgom_Ke_ch2.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Nikgom_Ke_ch3.pdf948.57 kBAdobe PDFView/Open
Nikgom_Ke_ch4.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Nikgom_Ke_ch5.pdf843.09 kBAdobe PDFView/Open
Nikgom_Ke_back.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.