Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorณัฐ ดิลกเกียรติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-08T03:28:04Z-
dc.date.available2009-09-08T03:28:04Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741748191-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11005-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาปัจจัยการผลิตตัวดูดซับผลิตจากดินดำผสมกะลามะพร้าว และดินดำผสมกะลาปาล์ม และศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับเฮกซะวาเลนท์โครเมียม ของตัวดูดซับที่ผลิตได้โดยการแปรผันค่าพีเอช (pH) การชะไอออนด้วยสารละลายกรดและน้ำกลั่น ศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี การหาประสิทธิภาพในคอลัมน์ดูดซับ และได้เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูดซับระหว่างถ่านกัมมันต์กับตัวดูดซับที่ผลิตได้ ผลการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยการผลิตตัวดูดซับ โดยการแปรผันอุณหภูมิการเผา และอัตราส่วนโดยน้ำหนักระหว่างดินดำต่อกะลามะพร้าว และดินดำต่อกะลาปาล์ม พบว่าตัวดูดซับที่เหมาะสมที่สุดของตัวดูดซับแต่ละชนิด ในเงื่อนไขที่สามารถดูดซับเฮกซะวาเลนท์โครเมียมได้ดีที่สุดและมีความคงตัว คือตัวดูดซับที่ผลิตจากดินดำผสมกะลามะพร้าว ที่อัตราส่วนโดยน้ำหนักระหว่างดินดำต่อกะลามะพร้าวที่ 20 ต่อ 80 และตัวดูดซับที่ผลิตจากดินดำผสมกะลาปาล์มที่อัตราส่วนโดยน้ำหนัก ระหว่างดินดำต่อกะลามะพร้าที่ 10 ต่อ 90 ซึ่งผ่านการเผาแบบไร้ออกซิเจนที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที โดยสามารถดูดซับเฮกซะวาเลนท์โครเมียมได้ร้อยละ 99.02 และ 96.66 ตามลำดับ ผลการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับเฮกซะวาเลนท์โครเมียม พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับของตัวดูดซับทั้งสองชนิดคือ เวลาสัมผัส 4 ชั่วโมง ค่าพีเอชเท่ากับ 3 ซึ่งจากการทดลอง ไอโซเทอมที่สภาวะดังกล่าวโดยสมการการดูดซับแบบแลงเมียร์ ค่าปริมาณการดูดซับสูงสุด ของตัวดูดซับที่ผลิตจากดินดำผสมกะลามะพร้าว และตัวดูดซับที่ผลิตจากดินดำผสมกะลาปาล์ม เท่ากับ 11.08 และ 8.20 มิลลิกรัมเฮกซะวาเลนท์โครเมียม/กรัมตัวดูดซับ ตามลำดับ ขณะที่ถ่านกัมมันต์มีค่าเท่ากับ 47.40 มิลลิกรัมเฮกซะวาเลนท์โครเมียม/กรัมถ่านกัมมันต์ การศึกษาการชะตัวดูดซับด้วยสารละลายกรดอ่อน และน้ำกลั่นที่ 24 ชั่วโมง พบว่าไม่สามารถชะไอออนโครเมียมออกมาได้ด้วยสารละลายกรดอ่อนและน้ำกลั่น ในการทดลองแบบต่อเนื่องในคอลัมน์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ในการกำจัดเฮกซะวาเลนท์โครเมียมในน้ำเสียสังเคราะห์ ของตัวดูดซับผลิตจากดินดำผสมกะลามะพร้าว ที่พีเอช 3 ความเข้มข้นเฮกซะวาเลนท์โครเมียม 10 มิลลิกรัม/ลิตร ที่ระดับความลึกของตัวดูดซับ 30, 60 และ 90 เซนติเมตร พบว่าปริมาตรน้ำเสียไหลผ่านชั้นตัวดูดซับที่จุดหมดสภาพคือ 485.5, 521.7 และ 664.3 เท่าของปริมาตรของคอลัมน์ ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeTo study factors in preparation adsorbent from ball clay mixed with coconut shell and palm shell, to study the properties of the adsorbent in adsorption of hexavalent chromium at different pH, regenerating ion by acid solution and distilled water, study physical feature and chemical feature, searching capacity of adsorbent column and comparing adsorbent behavior between activated carbon and adsorbent that was produced. The resulting experiment was to study a process of adsorbent production by varying pyrolysis temperature and mixing ratio between ball clay and coconut shell, ball clay and palm shell. The experimental results demonstrated that the adsorbent which are proper for each kind of adsorbent under the condition that can be adsorbed hexavalent chromium and strong product are the weight ratio of ball clay to coconut shell 20:80 and ball clay to palm shell 10:90 pyrolysis temperature 800 ํC for 30 minutes which adsorb hexavalent chromium at 99.02 and 96.66 respectively. The experimental for study the efficiency of adsorbent show that the suitable adsorption condition of adsorbents are 4 hours at pH 3, isotherm by Langmiur equation, the maximum adsorption capacity of ball clay mixed with coconut shell adsorbent and ball clay mixed with palm shell at 11.08 and 8.20 mg of hexavalent chromium /g of adsorbent respectively. However the activated carbon show the maximum adsorption capacity at 47.40 mg of hexavalent chomium /g of activated carbon. The study of adsorbent regenerate with acid solution (pH 5) and distilled water at 24 hours show that chromium ion is unable to leach by the acid solution and distilled water. In continuous experiment in column for study the efficiency of removal hexavalent chromium in synthetic wastewater of adsorbent from ball clay mixed with coconut shell at pH 3, concentration of hexavalent chromium at 10 mg/l at depth of adsorbent 30, 60 and 90 cm. The results indicated that the breakthrough volumes of each depth were 485.5, 521.7 and 664.3 bed volume respectively.en
dc.format.extent1969735 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโครเมียมen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนักen
dc.subjectการดูดซับen
dc.subjectดินดำen
dc.titleตัวดูดซับที่ผลิตจากดินดำผสมกะลามะพร้าวหรือกะลาปาล์ม เพื่อการดูดซับเฮกซะวาเลนท์โครเมียมในน้ำเสียสังเคราะen
dc.title.alternativeAdsorbent produced by ball clay with coconut shell or palm shell for hexavalent chromium adsorption in synithetic wastewateren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThares.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nut.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.